องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1                         :         ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม์

หน่วยงานที่รับผิดชอบตัวบ่งชี้ระดับมหาวิทยาลัย    :  สถาบันวิจัยและพัฒนา

ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้                                           :   ผศ.วิพัฒน์ หมั่นการ                รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและกิจการพิเศษ

ผู้จัดเก็บข้อมูล / รายงานผลการดำเนินงาน            :  ผศ.ดร.จรีรัตน์ สุวรรณ์              ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา

ชนิดของตัวบ่งชี้         :         กระบวนการ
การคิดรอบปี             :         ปีการศึกษา
เกณฑ์มาตรฐาน         :        
            1. มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด
            2. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน
            3. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย
            4. มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียน   การสอนและการวิจัย
            5. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย

หมายเหตุ   เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 4 ต้องมีการประเมินความสำเร็จของการบูรณาการตามเกณฑ์ข้อ 2  และข้อ 3

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ
1 ข้อ

มีการดำเนินการ
2 ข้อ

มีการดำเนินการ
3 ข้อ

มีการดำเนินการ
4 ข้อ

มีการดำเนินการ
5 ข้อ

ผลการดำเนินงาน

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 : ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

1

มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม และดำเนินการตามระบบ ที่กำหนด มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้

มหาวิทยาลัยมีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคมและดำเนินการตามระบบที่กำหนด ดังนี้
     1. กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์การบริการทางวิชาการแก่สังคม ไว้ในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยระยะ 10 ปี พ.ศ.2551–2560 (5.1-1-1) และแผนปฏิบัติราชการ พ.ศ.2552–2554 ฉบับปรับปรุง (5.1-1-2) 
     2. มีคู่มือบริการทางวิชาการ เพื่อให้หน่วยงานของมหาวิทยาลัยนำไปใช้เป็นแนวทาง ขั้นตอนและหลักเกณฑ์ด้านการบริการทางวิชาการแก่สังคม (5.1-1-3)
     3. กำหนดภาระงานของอาจารย์ และบุคลากรให้ชัดเจน โดยมีระบบการเทียบเคียงและทดแทนระหว่างภาระงานด้านต่างๆ ซึ่งจะเป็นการสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรสนใจการให้บริการแก่สังคม ตามความถนัดและจุดเน้นของมหาวิทยาลัย (5.1-1-4) 
      4. กำหนดให้สถาบันวิจัยและพัฒนาเป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านการบริการทางวิชาการแก่สังคม สถาบันวิจัยและพัฒนาได้ถอดประเด็นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยพร้อมทั้งวิเคราะห์ผล     ของการประเมินการประกันคุณภาพภายใน ประจำปี 2553 ผลของการประเมินตามตัวชี้วัดของ กพร. สกอ. และ สมศ. นำมาเป็นข้อมูลในการจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2554 เพื่อให้แผนการดำเนินงานด้านการวิจัยให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ตัวชี้วัด        ด้านบริการทางวิชาการแก่สังคมที่เกี่ยวข้อง (5.1-1-5)  โดยกลไกในการขับเคลื่อนระบบดังกล่าว มหาวิทยาลัยได้แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อดำเนินการ ดังนี้
      1. มีคณะกรรมการประจำสถาบันวิจัยและพัฒนา โดยมีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัยและตัวแทนคณาจารย์ (5.1-1-6)
     2. มีคณะกรรมการส่งเสริมการวิจัย และบริการวิชาการ (5.1-1-7) ซึ่งกรรมการเป็นตัวแทนจากทุกหน่วยงานของมหาวิทยาลัย เพื่อร่วมกันหาแนวทางดำเนินโครงการตามที่ได้จัดสรรงบประมาณสนับสนุน และจัดทำระเบียบของการให้บริการ
     3. มีแผนการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ (5.1-1-8) 
     4. มีการดำเนินกิจกรรมที่สนับสนุนด้านการบริการ
ทางวิชาการแก่สังคม โครงการส่งเสริมสนับสนุนให้อาจารย์บริการทางวิชาการแก่สังคม (รายงานประจำปี 2554 หน้า 24) (5.1-1-9) ในส่วนของคณะมีการดำเนินกิจกรรมบริการวิชาการ (5.1-1-10)

     5. มีการกลไกการจัดสรรงบประมาณ เพื่อการบริหารงานด้านบริการทางวิชาการแก่สังคมเพื่อให้สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัย (5.1-1-11)

5.1-1-1

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะ 10 ปี พ.ศ.2551– 2560(หน้า 4, 5, 21, 31)     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>

5.1-1-2

แผนปฏิบัติราชการพ.ศ.2552–2554 ฉบับปรับปรุง 5.1-1-3 คู่มือการให้บริการวิชาการ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>

5.1-1-3

ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางเรื่องเกณฑ์ภาระงานของคณาจารย์และผู้บริหาร พ.ศ.2553     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>

5.1-1-4

แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>

5.1-1-5

คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประจำสถาบันวิจัยและพัฒนา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>

5.1-1-6

คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประจำสถาบันวิจัยและพัฒนา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>

5.1-1-7

คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>

5.1-1-8

แผนการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>

5.1-1-9

รายงานประจำปี 2554 ของสถาบันวิจัยและพัฒนา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>

5.1-1-10

รายงานประจำปี 2554 ของมหาวิทยาลัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>

5.1-1-11

การประชุม คณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัย ครั้งที่ 5 วันที่ 30ก.ย. 2554 (หน้า 18 – 22)     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 : ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

2

มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน มหาวิทยาลัย มีการดำเนินงาน ดังนี้

มหาวิทยาลัยได้มีการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการ       จัดการเรียนการสอนให้แก่หน่วยงานระดับคณะ โดยผ่านเครือข่ายการประกันคุณภาพระดับมหาวิทยาลัย      (5.1-2-1) และพบว่ามีลักษณะของการบูรณาการ          2 ลักษณะ คือ การนำองค์ความรู้ที่มีมาฝึกฝนให้นักศึกษาสามารถถ่ายทอด และเป็นผู้ช่วยวิทยากร     ก่อนนำองค์ความรู้นั้นไปบริการวิชาการ และการนำ   องค์ความรู้หรือผลที่ได้จากการบริการวิชาการมาเป็นเนื้อหาหนึ่งของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง พร้อมกันนี้ได้มีการระบุรายละเอียดการบูรณาการใน มคอ.3 ของรายวิชาที่มีการบูรณาการและระบุผลการบูรณาการใน มคอ.5 ของรายวิชานั้นๆ โดยกำหนดให้เป็นตัวบ่งชี้ที่ทุกสาขาวิชาจำเป็นต้องมีการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน
รายละเอียดและหลักฐานการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการจัดการเรียนการสอนของคณะต่างๆ รวม 6 คณะ

  1. คณะครุศาสตร์

       คณะครุศาสตร์ มีการบูรณาการงานบริการวิชาการ
แก่สังคมกับการเรียนการสอน ของสาขาวิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 4 โครงการ ได้นำผลจากการบริการวิชาการ”โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างข้อทดสอบแบบบูรณาการและการผลิตสื่อมัลติมีเดีย เพื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ” (5.1-2-2) บูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาการวัด และประเมินผลสำหรับครูภาษาอังกฤษ (5.1-2-3) โดยเพิ่มเนื้อหาเรื่องการวัดและประเมินผล   มากขึ้น และได้นำผลจากการบริการวิชาการ” กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ” (5.1-2-4) บูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาค่ายภาษาเพื่อพัฒนาทักษะ (5.1-2-5)
2.  คณะวิทยาศาสตร์
      คณะวิทยาศาสตร์มีการบูรณาการงานบริการทางด้านวิชาการแก่สังคมกับกระบวนการจัดการเรียน การสอน 3 โครงการ ดังนี้
       อาจารย์ในคณะวิทยาศาสตร์มีการบูรณาการงานบริการทางด้านวิชาการแก่สังคมกับกระบวนการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
       1) สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 
ได้นำผลจากการบริการวิชาการ “โครงการอบรมคอมพิวเตอร์ให้แก่บุคคลภายนอก” มาบูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาบริหารโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ (5.1-2-6) (5.1-2-7)
      2) สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 
ได้นำผลจากการบริการวิชาการ “โครงการจัดอบรมด้านคอมพิวเตอร์ให้แก่บุคลากรภายนอก เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฮาร์ดแวร์และพื้นฐานการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ และ เรื่อง การสร้าง E–Book ด้วยโปรแกรม Desktop Author ” มาบูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาการบริหารโครงการ (5.1-2-8) (5.1-2-9)
      3) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา 
ได้นำผลจากการบริการวิชาการ “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการวิทยาศาสตร์มหัศจรรย์ในชั้นเรียนสำหรับครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 ในจังหวัดลำปาง”    มาบูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพเบื้องต้น (5.1-2-10) (5.1-2-11)
3.  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
      คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนจำนวน 2 โครงการ ดังนี้
      1)  คณะมีการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน ในโครงการอบรมศิลปะ 3 มิติ สำหรับครูประถมศึกษากับรายวิชาประติมากรรมประยุกต์ (5.1-2-12) โดยนำนักศึกษาที่เรียนในรายวิชาร่วมเป็นผู้ช่วยวิทยากรในการอบรมแก่สำหรับครูประถมศึกษาเกี่ยวกับการทำผลไม้จำลอง การดุนโลหะการทำตุ๊กตาจากเศษผ้า (5.1-2-13) โดยสาขาวิชาออกแบบประยุกต์ศิลป์

     2) คณะมีการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่     สังคมโครงการดนตรีสร้างสรรค์ ชุมชนเข้มแข็งกับการเรียนการสอนในรายวิชาปฏิบัติรวมวง 2 (5.1-2-14) โดยนำนักศึกษาที่เรียน มาเป็นผู้ช่วยวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่เยาวชนบ้านฮ่องกอก โดยสาขาวิชาดนตรี (5.1-2-15)
4.  คณะวิทยาการจัดการ
     คณะวิทยาการจัดการมีการบูรณาการงานบริการทางด้านวิชาการกับกระบวนการจัดการเรียนการสอน   10 โครงการ ดังนี้  (5.1-2-16)  (5.1-2-17)
         สาขาวิชาการบัญชี ได้ให้นักศึกษานำเอาความรู้ไปจัดทำโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ดังนี้
         - โครงการอบรมความรู้ต่อเนื่องทางการบัญชี (CPD) เรื่อง “ประเด็นความแตกต่างของมาตรฐานฐานการบัญชี (TFRS) กับมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAEs)”
         - โครงการอบรมความรู้ต่อเนื่องทางการบัญชี เรื่อง “เจาะลึก 22 บท มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAEs)”
         สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ได้ให้นักศึกษานำเอาความรู้ไปจัดทำโครงการบริการวิชาการแก่สังคม “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อการผลิตสื่อดิจิทัลด้วยโปรแกรม Desktop Author”
         สาขาวิชานิเทศศาสตร์ ได้ให้นักศึกษานำเอาความรู้ไปจัดทำโครงการบริการวิชาการแก่สังคม“โครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “การบริหารภาพลักษณ์องค์กรอย่างมืออาชีพ”
         สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ได้ให้นักศึกษานำเอาความรู้ไปจัดทำโครงการบริการวิชาการแก่สังคม“โครงการทำโคมหูกระต่าย”
         สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ได้ให้นักศึกษานำเอาความรู้ไปจัดทำโครงการบริการวิชาการแก่สังคมดังนี้

         - การจัดอบรมการเตรียมความพร้อมสู่ที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบทหรือโฮมสเตย์ Home Stay
ตำบลพิชัย
         - โครงการอบรมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในมิติเศรษฐกิจพอเพียง
         สาขาวิชาการตลาด ได้ให้นักศึกษานำเอาความรู้ไปจัดทำโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ดังนี้
         - โครงการได้แก่ โครงการการตลาดเชิงปฏิบัติการ Practical Marketing
         - โครงการสืบสานโครงการตามแนวพระราชดำริบ้านฮ่องกอก  
         สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ ได้ให้นักศึกษานำเอาความรู้ไปจัดทำโครงการบริการวิชาการแก่สังคม “โครงการอบรมให้ความรู้ทางด้านการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศแก่ผู้ประกอบการ”
5. คณะเทคโนโลยีการเกษตร
       คณะเทคโนโลยีการเกษตร ได้บูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมเข้ากับการเรียนการสอน ตามโครงการที่ได้ระบุไว้ในแผนด้านบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2554 (5.1-2-22) จำนวน 2 โครงการ ดังนี้
       สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มีการบรูณาการงานบริการวิชาการแก่สังคม “โครงการการบริการตรวจวัดคุณภาพอาหารท้องถิ่นจังหวัดลำปาง”กับการเรียนการสอนในรายวิชาปัญหาพิเศษวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหารที่จะกำหนดให้นักศึกษาทำการศึกษาค้นคว้าและทดลองในหัวข้อที่ตนเองสนใจ โดยนางสาวสลิลรัตน์ อุทธิยา และนางสาวอนุธิดา สิงห์ชัย ได้ศึกษาในหัวข้อเรื่องการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหารพื้นบ้าน อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง ตามคำสั่งคณะเทคโนโลยีการเกษตรที่ 36/2554 เรื่อง แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
       สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ มีการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคม “โครงการอบรมเทคนิคการขยายพันธุ์ผักหวานป่าด้วยเมล็ด”เข้ากับการเรียนการสอนในรายวิชาปัญหาพิเศษที่กำหนดให้นักศึกษาทำการศึกษาค้นคว้าและทดลองในหัวข้อที่ตนเองสนใจโดยใช้        เป็นหัวข้อศึกษาค้นคว้าและทำการทดลองนายวัชรพงษ์ สุทธหลวง ภายใต้การดูแลของอาจารย์วุฒิรัตน์          พัฒนิบูลย์ อาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษตามคำสั่งคณะเทคโนโลยีการเกษตร ที่ 06/2553 เรื่องแต่งตั้งอาจารย์  ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษนักศึกษาสาขาวิชาเกษตรศาสตร์
6.  คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
     คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ได้มีการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับการเรียนการสอนจำนวน 3 โครงการ ได้แก่
     1. สาขาวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์ มีโครงการเรื่องการสัมมนาเชิงวิชาการ “เทคโนโลยีใหม่ในเครื่องวัดเซรามิก” เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2555 (5.1-2-23) ซึ่งได้บูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชา 5521501 วัสดุเซรามิกส์ ภาคเรียนที่ 2/2554 โดยมีการให้นักศึกษาได้เตรียมความพร้อม ในการทดลองเครื่องวัดเซรามิกส์ในสัปดาห์ที่ 14  (5.1-2-24)
    2. สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ มีโครงการบริการวิชาการค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นบ้านป่าเหมี้ยง วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 (5.1-2-25) ซึ่งได้บูรณาการกับ การเรียนการสอนในรายวิชา 5674801 ค่ายฝึกพัฒนาซอฟต์แวร์ ภาคเรียนที่ 2/2554 (5.1-2-26)

     3. สาขาวิชาเทคโนโลยีโยธา มีโครงการอบรม Sketch up เพื่อการบูรณาการการเรียนการสอน ระหว่างวันที่ 24–25 ธันวาคม 2554 (5.1-2-27) ซึ่งได้บูรณาการกับการเรียนการสอนใน 5562704 การสำรวจและการประมาณราคา ภาคเรียนที่ 1/2554 (5.1-2-28)
5.1-2-1 คำสั่งแต่งตั้งเครือข่ายประกันคุณภาพและบันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 3 และ 4     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-2 รายงานโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างข้อทดสอบแบบบูรณาการและการผลิตสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-3 มคอ. 3 รายวิชาการวัดและประเมินผลสำหรับครูภาษาอังกฤษ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-4 รายงานโครงการค่ายภาษาอังกฤษ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-5 มคอ. 3 รายวิชาค่ายภาษาเพื่อพัฒนาทักษะ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-6 รายงานโครงการอบรมคอมพิวเตอร์ให้แก่บุคคลภายนอก     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-7 มคอ.3 รายวิชาการบริหารโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-8 รายงานโครงการจัดอบรมด้านคอมพิวเตอร์ให้แก่บุคลากรภายนอก     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-9 มคอ.3 รายวิชาการบริหารโครงการ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-10 รายงานโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการวิทยาศาสตร์มหัศจรรย์ในชั้นเรียน สำหรับครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3ในจังหวัดลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-11 มคอ.3 รายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพเบื้องต้น     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-12 รายงานสรุปผลโครงการอบรมศิลปะ 3 มิติสำหรับครูประถมศึกษา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-13 รายละเอียดของรายวิชาประติมากรรมประยุกต์ (มคอ.3)     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-14 รายละเอียดของรายวิชาปฏิบัติรวมวง 2 (มคอ.3)     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-15 สรุปผลโครงการดนตรีสร้างสุข ชุมชนเข้มแข็งบูรณาการกับการเรียนการสอนรายวิชารวมวง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-16 โครงการบริการวิชาการที่นำความรู้ไปจัดทำโครงการที่เป็นประโยชน์ ต่อสังคมจำนวน 10 โครงการ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-17 มคอ.3 รายวิชาที่บูรณาการกับงานบริการวิชาการ
- มคอ.3 รายวิชาการบัญชีชั้นสูง
- มคอ.3 รายวิชาการตรวจสอบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์
- มคอ.3 รายวิชาการวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ
- มคอ.3 รายวิชาสัมมนานิเทศศาสตร์
- มคอ.3 รายวิชาวิชาการบริหารการผลิตและการดำเนินงาน
- มคอ.3 รายวิชาหลักตลาดบริการ
- มคอ.3 รายวิชาหลักการตลาด
- มคอ.3 รายวิชาการเจรจาต่อรองทางธุรกิจ
    $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-18 แผนด้านบริการวิชาการ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-19 มคอ.3 รายวิชาปัญหาพิเศษวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-20 คำสั่งคณะเทคโนโลยีการเกษตรที่ 22/2553 เรื่องแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-21 มคอ.3 รายวิชาปัญหาพิเศษ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-22 คำสั่งคณะเทคโนโลยีการเกษตร ที่ 06/2553 เรื่องแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษนักศึกษาสาขาวิชาเกษตรศาสตร์     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-23 สรุปโครงการเรื่องการสัมมนาเชิงวิชาการ"เทคโนโลยีใหม่ในเครื่องวัดเซรามิก"เมื่อวันที่ 26 มกราคมพ.ศ. 2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-24 มคอ.3 รายวิชาวัสดุเซรามิกส์ ภาคเรียนที่ 2/2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-25 สรุปโครงการบริการวิชาการค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นบ้านป่าเหมี้ยง วันที่ 5 พ.ค.2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-26 มคอ.3 รายวิชาค่ายฝึกพัฒนาซอฟต์แวร์ ภาคเรียนที่ 2/2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-27 สรุปโครงการอบรมSketch up เพื่อการบูรณาการการเรียนการสอน ระหว่างวันที่ 24–25 ธันวาคม 2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-2-28 มคอ.3 รายวิชาการสำรวจและการประมาณราคาภาคเรียนที่ 1/2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 : ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

3

มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย มหาวิทยาลัย                 มีการดำเนินงาน ดังนี้

       มหาวิทยาลัยได้มีการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการจัดการวิจัยให้แก่หน่วยงานระดับคณะ โดยผ่านเครือข่ายการประกันคุณภาพระดับมหาวิทยาลัย (5.1-3-1) ที่มีข้อสรุปว่าจะต้องเป็นโจทย์หรือปัญหาที่พบจากงานบริการวิชาการนำมาสู่กระบวนการวิจัยที่สามารถต่อยอด       ไปสู่งานวิจัยได้ พร้อมทั้งได้กำหนดให้เป็นตัวบ่งชี้ที่     ทุกสาขาวิชาจำเป็นต้องมีการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย
รายละเอียดและหลักฐานการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการจัดการเรียนการสอนของคณะต่างๆ รวม 6 คณะ
1. คณะครุศาสตร์
       คณะครุศาสตร์ มีการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย ดังนี้
       1. โครงการค่ายอาสาพัฒนา (บูรณาการกับการวิจัย การเรียนการสอน การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและการบริการวิชาการ) (5.1-3-2) บูรณาการกับการวิจัยเรื่อง  “วิธีวิทยาการถ่ายทอดจิตสำนึกต่อคุณค่าของเพื่อนมนุษย์จากวรรณกรรมที่นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทยเรียนรู้ในหลักสูตร เพื่อบูรณาการสู่การจัดค่ายภาษาไทยและการบริการวิชาการแก่ชุมชน” (5.1-3-3) และการวิจัยเรื่องการพัฒนากระบวนการเรียนรู้เพื่อถิ่นฐานบ้านเกิดและการพัฒนาเด็กและเยาวชนในจังหวัดลำปาง ระยะที่ 1 ปี พ.ศ.2554” (5.1-3-4)
       2. โครงการอบรมครูปฐมวัย เรื่อง การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับปฐมวัย (5.1-3-5) บูรณาการกับการวิจัยเรื่อง “ปัญหาการบริหารจัดการแบบเรียนรวมของครูผู้สอนในระดับปฐมวัย โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1” (5.1-3-6)  

2. คณะวิทยาศาสตร์
         คณะวิทยาศาสตร์มีการบูรณาการงานบริการทางด้านวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย จำนวน 4 โครงการ ดังนี้
         1. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ได้บูรณาการงานบริการวิชาการค่ายเยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจโลกร้อน (5.1-3-7) กับโครงการวิจัยหัวข้อ “ปัจจัยทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อการเกิดดินถล่มบริเวณ ตำบลแจ้ซ้อน อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง” (5.1-3-8)
         2. สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ได้จัดให้มีโครงการบริการวิชาการ “โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา” (5.1-3-9) พบว่าปัญหาครูผู้สอนส่วนใหญ่ขาดทักษะในการพัฒนาสื่อการสอนด้วยคอมพิวเตอร์ เนื่องจากเครื่องมือในการสร้างมีความยุ่งยาก จึงได้นำกรณีปัญหาดังกล่าวสู่การบูรณาการวิจัย เรื่อง “การพัฒนาต้นแบบระบบจัดการเรียนรู้ระบบออนไลน์สำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลำปาง” (5.1-3-10)
         3. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา ได้นำข้อเสนอแนะจากการไปบริการวิชาการแก่สังคมในโครงการ “อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพและชีวภาพ สำหรับครูประจำการในจังหวัดลำปาง” ในปีการศึกษา 2553 ระหว่างวันที่ 30 – 31 ก.ค. 2553 (5.1-3-11) มาวิเคราะห์และทำการวิจัย เรื่อง “การสร้างชุดตรวจวัดสำหรับหาปริมาณแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์  ในตัวอย่างอากาศ” (5.1-3-12) จากนั้นได้นำองค์ความรู้  ที่ได้จากการวิจัยมาให้บริการวิชาการในการอบรม       เชิงปฏิบัติการ “การเตรียมชุดประเมินแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในอากาศอย่างง่ายให้ครูและนักเรียนในอำเภอแม่เมาะ สำหรับครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และนักเรียน อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง”ในปีการศึกษา 2554 ระหว่างวันที่ 16 มี.ค. 2555 (5.1-3-13)

3. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
         คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย         โดยกำหนดให้สาขาวิชามีการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย รายละเอียดแต่ละสาขาวิชา ดังนี้
         1)  มีการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย โดยนำเอาผลจากโครงการบริการวิชาการการพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตภัณฑ์ชุมชนและพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามโครงการเครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge-Based OTOP : KBO) จังหวัดลำปาง 2553 (5.1-3-14) บูรณาการกับงานวิจัยในโครงการพัฒนาสินค้าของที่ระลึกเชิงวัฒนธรรมจากรูปแบบศิลปกรรมวัดพระธาตุลำปางหลวง (5.1-3-15) โดยนำองค์ความรู้ที่ได้ในเรื่องของการนำภูมิปัญญาท้องถิ่น มาเป็นแนวคิดในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกของแต่ละท้องถิ่น  ซึ่งสาขาได้นำไปต่อยอดเป็นงานวิจัย ในโครงการพัฒนาสินค้าของที่ระลึกเชิงวัฒนธรรมจากรูปแบบศิลปกรรม  วัดพระธาตุลำปางหลวงของสาขาวิชาออกแบบประยุกต์ศิลป์
         2) มีการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย โดยนำเอาผลจากโครงการค่ายภาษาจีนสำหรับนักเรียนโรงเรียนเครือข่ายภาษาจีนของมหาวิทยาลัย  ราชภัฏลำปางในระดับชั้นมัธยมศึกษา (5.1-3-16)        มาบูรณาการกับการวิจัย เรื่อง การพัฒนาด้านทักษะ  การฟังและการพูดภาษาจีนสำหรับ นักเรียนระดับ      ชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียนเทศบาล 4 นครลำปาง    (5.1-3-17) ของสาขาวิชาภาษาจีน
        3)  มีการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย โดยนำโครงการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน : กรณีศึกษาโรงเรียนแม่ทะพัฒนศึกษา อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง (5.1-3-18)  มาบูรณาการงานวิจัยเรื่องการศึกษาวรรณกรรมจากคัมภีร์ใบลานล้านนา เขตชุมชนวัดพิชัย หมู่ 1 ตำบลพิชัย อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง (5.1-3-19) ของสาขาวิชาภาษาไทย
        4)  มีการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย โดยนำโครงการบริการ “กิจกรรมอบรมทักษะการฟัง-พูด ภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนผู้พิการทางสายตาโรงเรียนการศึกษาคนตาบอดจังหวัดลำปาง” มาบูรณาการกับการวิจัย เรื่อง “การใช้เหตุการณ์เชิงวิพากษ์ในบริบทภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริมความตระหนักรู้     ทางวัฒนธรรม แก่นักเรียนผู้พิการทางสายตา โรงเรียนการศึกษาคนตาบอดลำปาง” (5.1-3-20) ของสาขาวิชาภาษาอังกฤษ


4. คณะวิทยาการจัดการ
      คณะวิทยาการจัดการมีการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการวิจัย โดยมีการจัดโครงการบริการวิชาการที่มีการบูรณาการกับการวิจัย (5.1-3-21) 7 เรื่อง ดังนี้

  1. โครงการอบรมความรู้ต่อเนื่องทางการบัญชี(CPD) เรื่อง “ประเด็นความแตกต่างของมาตรฐานฐานการบัญชี (TFRS) กับมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAEs)” (สาขาวิชาการบัญชี)
  2. โครงการอบรมความรู้ต่อเนื่องทางการบัญชีเรื่อง “เจาะลึก 22 บท มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAEs)” (สาขาวิชาการบัญชี)
  3. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อการผลิตสื่อดิจิทัลด้วยโปรแกรม Desktop Author” (สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
  4. การจัดค่ายเยาวชนรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นที่ชุมชนบ้านโป่งขวาก” (สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
  5. การจัดค่ายเยาวชนรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นที่ชุมชนบ้านโป่งขวาก” (สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
  6. โครงการทำโคมหูกระต่าย”(สาขาวิชาการจัดการทั่วไป)
  7. โครงการสืบสานตามแนวพระราชดำริบ้านฮ่อง กอก (สาขาวิชาการตลาด)

      และได้มีการนำเอาความรู้ ประสบการณ์ที่ได้มาพัฒนาต่อยอดไปสู่การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ โดยผ่านกระบวนการวิจัย (5.1-3-22) 6 เรื่อง ได้แก่

  1. วิจัยเรื่องอิทธิพลของการของการเรียนรู้ทางการบัญชีต่อผลการปฏิบัติงานของนักบัญชีในจังหวัดลำปาง (สาขาวิชาการบัญชี)
  2. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอน โดยใช้ E-Book และการสอนปกติ (สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
  3. โครงการวิจัยเรื่อง “กระบวนการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชน  ในการสืบทอดวัฒนธรรมท้องถิ่น” (สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
  4. โครงการวิจัยเรื่อง “กระบวนการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชน ในการสืบทอดวัฒนธรรมท้องถิ่น” (สาขาวิชานิเทศศาสตร์)
  5. งานวิจัยเรื่อง การอนุรักษ์การประดิษฐ์โคมล้านนา ของกลุ่มอนุรักษ์โคมล้านนา บ้านวังหม้อ อ.เมือง จ.ลำปาง (สาขาวิชาการจัดการทั่วไป)
  6. งานวิจัยเรื่องการมีส่วนร่วมในการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ ชุมชนบ้านฮ่องกอกตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (สาขาวิชาการตลาด)

5. คณะเทคโนโลยีการเกษตร 
       คณะเทคโนโลยีการเกษตร ได้บูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมเข้ากับการวิจัย ตามโครงการที่ได้ระบุไว้ในแผนบริการวิชาการประจำปีงบประมาณ 2554      (5.1-3-23) จำนวน 2 โครงการดังนี้
         1. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
ได้บูรณาการงานบริการวิชาการ “โครงการการบริการตรวจวัดคุณภาพอาหารท้องถิ่นจังหวัดลำปางเข้ากับการวิจัยปัญหาพิเศษ นางสาวสลิลรัตน์ อุทธิยา และ นางสาวอนุธิดา สิงห์ชัย (5.1-3-24) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อปรับปรุงคุณภาพอาหารท้องถิ่นใน อ.แม่ทะ เพื่อให้ผู้ประกอบการขนาดเล็กสามารถนำผลการตรวจสอบคุณภาพนี้ไปใช้   ในการพัฒนา การผลิตภัณฑ์อาหารให้ได้รับการรับรองมาตรฐานระดับชุมชน หรืออุตสาหกรรมในอนาคต 
         2. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ได้บูรณาการงานบริการวิชาการ “โครงการอบรมเทคนิคการขยายพันธุ์ผักหวานป่าด้วยเมล็ด”เข้ากับการวิจัย โดย อาจารย์    วุฒิรัตน์ พัฒนิบูลย์ ได้ทำการศึกษาวิจัยในหัวข้อผล   ของการบรรจุหีบห่อ และสภาวะการเก็บรักษาต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ผักหวานป่า (5.1-3-25) ผลการดำเนินงานซึ่งมีจุดมุ่งหมาย เพื่อค้นหาวิธีการในการยืดอายุการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ผักหวานป่าให้สามารถขยายช่วงระยะเวลาของการเพาะเมล็ดพันธุ์ผักหวานป่าให้นานขึ้น ซึ่งเป็นความต้องการที่ได้มาจากการบริการวิชาการในปีงบประมาณ 2553 ที่ได้จัดอบรมในหัวข้อ “การขยายพันธุ์ผักหวานเพื่อการจำหน่าย (5.1-3-26)
6.  คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
     คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย จำนวน 4 โครงการดังนี้
      1. สาขาวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์ มีโครงการ      เรื่องการสัมมนาเชิงวิชาการ “เทคโนโลยีใหม่ในเครื่องวัดเซรามิก” เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2555 (5.1-3-27)   ซึ่งได้บูรณาการกับวิจัยเรื่องการบูรณาการองค์ความรู้  จากโครงการบริการวิชาการร่วมกับการเรียนการสอน  เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ในการเรียนการสอนรายวิชาวัสดุ    เซรามิกส์ กิจกรรมการทดลองที่ 6 Glaze and Materials. (5.1-3-28)
     2. สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ มีโครงการบริการวิชาการค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นบ้านป่าเหมี้ยง วันที่ 5 พฤษภาคม 2555 (5.1-3-29) ซึ่งได้บูรณาการกับวิจัย  เรื่อง ระบบสารสนเทศการให้ข้อมูลร้านอาหาร และสถานที่ท่องเที่ยวบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ จังหวัดลำปาง (5.1-3-30)
     3. สาขาวิชาเทคโนโลยีโยธา มีโครงการอบรมSketch up เพื่อการบูรณาการการเรียนการสอน ระหว่างวันที่ 24 – 25 ธันวาคม 2554 (5.1-3-31) ซึ่งได้บูรณาการกับวิจัย เรื่องการประยุกต์ใช้โปรแกรม Sketch Up 7.0 ในการพัฒนาการเรียนรู้ส่วนประกอบของอาคาร (5.1-3-32)
     4. สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มอาชีพเพาะเห็ดด้วยรูปแบบการบริหารจัดการ มีนาคม–ตุลาคม 2554      (5.1-3-33) ซึ่งได้บูรณาการกับวิจัยเรื่องการบริหารจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ของกลุ่มอาชีพด้วยเทคโนโลยี  การเพาะเห็ด ต.ปงยางคก อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง กระบวนการทำความร้อนไปแปรรูปชีวมวล (5.1-3-34)

 

5.1-3-1 คำสั่งแต่งตั้งเครือข่ายประกันคุณภาพ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-3-2 รายงานโครงการค่ายอาสาพัฒนา (บูรณาการกับการวิจัย การเรียนการสอน การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และการบริการวิชาการ)     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-3-3 งานวิจัยเรื่อง "วิธีวิทยาการถ่ายทอดจิตสำนึกต่อคุณค่าของเพื่อนมนุษย์จากวรรณกรรมที่นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทยเรียนรู้ในหลักสูตรเพื่อบูรณาการสู่การจัดค่ายภาษาไทยและการบริการวิชาการแก่ชุมชน"     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-3-4 งานวิจัยเรื่องการพัฒนากระบวนการเรียนรู้เพื่อถิ่นฐานบ้านเกิดและการพัฒนาเด็กและเยาวชนในจังหวัดลำปาง ระยะที่ 1 ปีพ.ศ. 2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-3-5 รายงานโครงการอบรมครูปฐมวัยเรื่องการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับปฐมวัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-3-6 งานวิจัยเรื่องปัญหาการบริหารจัดการแบบเรียนรวมของครูผู้สอนในระดับปฐมวัย โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-3-7 รายงานโครงการค่ายเยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจโลกร้อน     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-3-8 รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย "ปัจจัยทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อการ เกิดดินถล่ม บริเวณตำบลแจ้ซ้อน อำเภอเมืองปานจังหวัดลำปาง"     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-3-9 รายงานโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-3-10 รายงานวิจัยเรื่องการพัฒนาต้นแบบระบบจัดการเรียนรู้ระบบออนไลน์สำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-3-11 รายงานโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพและชีวภาพ สำหรับครูประจำการในจังหวัดลำปาง      
5.1-3-12 รายงานวิจัยเรื่องการสร้างชุดตรวจวัดสำหรับ หาปริมาณแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในตัวอย่างอากาศ      
5.1-3-13 รายงานโครงการการเตรียมชุดประเมินแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในอากาศอย่างง่ายให้ครู และนักเรียนในอำเภอ แม่เมาะ สำหรับครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ และนักเรียน อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง      
5.1-3-14 รายงานสรุปผลโครงการบริการวิชาการการพัฒนาศักยภาพกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนและพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามโครงการเครือข่ายองค์ความรู้(Knowledge-Based OTOP : KBO) จังหวัดลำปาง 2553      
5.1-3-15 รายงานวิจัยเรื่องโครงการพัฒนาสินค้าของ ที่ระลึกเชิงวัฒนธรรมจากรูปแบบศิลปกรรมวัดพระธาตุลำปางหลวง โดย ผศ.ธวัชไชย ปานดำรง 5.1-3-16 รายงานสรุปผลโครงการค่ายภาษาจีนสำหรับนักเรียนโรงเรียนเครือข่ายภาษาจีนของมหาวิทยาลัย ราชภัฏลำปางในระดับชั้นมัธยมศึกษา      
5.1-3-16        
5.1-3-17 รายงานวิจัย  เรื่องการพัฒนาด้านทักษะการฟังและการพูดภาษาจีนสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียนเทศบาล 4นครลำปาง      
5.1-3-18 รายงานวิจัย เรื่องการศึกษาปัจจัยความสำเร็จที่มีต่อการบูรณาการการบริการวิชาการกับการเรียน การสอน : กรณีศึกษาโรงเรียนแม่ทะพัฒนศึกษา อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง      
5.1-3-19 รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาวรรณกรรมจากคัมภีร์ใบลานล้านนา เขตชุมชนวัดพิชัย หมู่ 1 ตำบลพิชัย อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง      
5.1-3-20 รายงานการวิจัยเรื่อง "การใช้เหตุการณ์เชิงวิพากษ์ในบริบทภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริมความตระหนักรู้ ทางวัฒนธรรม แก่นักเรียน ผู้พิการทางสายตา โรงเรียนการศึกษาคนตาบอดลำปาง"      
5.1-3-21 โครงการบริการวิชาการที่มีการบูรณาการกับการวิจัย 7 เรื่อง      
5.1-3-22 งานวิจัย จำนวน6 เรื่อง      
5.1-3-23 แผนบริการวิชาการประจำปีงบประมาณ 2554      
5.1-3-24 ผลการวิจัยการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารท้องถิ่น      
5.1-3-25 รายงานการวิจัยเรื่องผลของการบรรจุหีบห่อและสภาวะการเก็บรักษาต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ผักหวานป่า      
5.1-3-26 สรุปโครงการอบรมการขยายพันธุ์ผักหวานเพื่อการจำหน่าย (โครงการบริการวิชาการงบประมาณ 2553)      
5.1-3-27 สรุปโครงการเรื่องการสัมมนาเชิงวิชาการ "เทคโนโลยีใหม่ในเครื่องวัดเซรามิก" เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2555      
5.1-3-28 วิจัยเรื่องการบูรณาการองค์ความรู้จากโครงการบริการวิชาการร่วมกับการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ในการเรียนการสอนรายวิชาวัสดุเซรามิกส์กิจกรรมการทดลองที่ 6 Glaze and Materials      
5.1-3-29 สรุปโครงการบริการวิชาการค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นบ้านป่าเหมี้ยง วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2555      
5.1-3-30 วิจัยเรื่องระบบสารสนเทศการให้ข้อมูลร้านอาหารและสถานที่ท่องเที่ยวบนโทรศัพท์เคลื่อนที่จังหวัดลำปาง      
5.1-3-31 สรุปโครงการอบรม Sketch up เพื่อการบูรณาการการเรียนการสอน ระหว่างวันที่ 24–25 ธันวาคม 2554      
5.1-3-32 วิจัยเรื่องการประยุกต์ใช้โปรแกรมSketch Up 7.0 ในการพัฒนาการเรียนรู้ส่วนประกอบของอาคาร      
5.1-3-33 สรุปโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มอาชีพเพาะเห็ดด้วยรูปแบบการบริหารจัดการมีนาคม–ตุลาคม 2554      
5.1-3-34 วิจัยเรื่องการบริหารจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ของกลุ่มอาชีพด้วยเทคโนโลยีการเพาะเห็ด ต.ปงยางคก อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง กระบวนการทำความร้อนไปแปรรูปชีวมวล     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 : ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

4

มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคม         กับการเรียนการสอนและการวิจัย มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้

มหาวิทยาลัย ได้มีการติดตามและประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการ   แก่สังคมกับการเรียนการสอน และการวิจัยที่มุ่งเน้นประเมินชิ้นงานหรือผลงาน และผลการวิจัยที่สามารถตอบวัตถุประสงค์ของการการวิจัยผ่านระบบติดตาม    และประเมินผล โดยมีการรวบรวมผลรายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหารของมหาวิทยาลัย (5.1-4-1) พร้อมทั้งได้ระบุรายละเอียดของการประเมินผลความสำเร็จ ของการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการเรียน      การสอนใน มคอ. 5 ของรายวิชานั้น และการประเมินผลสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการวิจัยจากรายงานผลการวิจัยหรือรายงานโครงการวิจัย         ซึ่งแต่ละสาขาวิชามีการประเมินผลความสำเร็จของการ บูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียน     การสอนและการวิจัย ดังนี้
รายละเอียดและหลักฐานการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการจัดการเรียนการสอนของคณะต่าง ๆ รวม 6 คณะ
1.คณะครุศาสตร์
       คณะครุศาสตร์มีการประเมินความสำเร็จของการ บูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการวิจัยดังนี้
       1. สาขาวิชาภาษาไทย มีการประเมินความความสำเร็จของโครงการค่ายอาสาพัฒนา (5.1-4-2) โดยระบุไว้ใน มคอ.5 ของรายวิชาภาษาไทยกับการเรียนรู้ชุมชน (5.1-4-3) รายวิชาการสร้างหนังสือสำหรับเด็กและเยาวชน (5.1-4-4) รายวิชาการเขียนสารคดี (5.1-4-5) รายวิชาความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมต่างประเทศ   กับวรรณกรรมไทย (5.1-4-6) รายวิชาวรรณกรรมวิจารณ์ (5.1-4-7) และประเมินความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการวิจัยโดยระบุไว้ในรายงานวิจัย   เรื่อง “วิธีวิทยาการถ่ายทอดจิตสำนึกต่อคุณค่าของเพื่อนมนุษย์จากวรรณกรรมที่นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทยเรียนรู้ในหลักสูตรเพื่อบูรณาการสู่การจัดค่ายภาษาไทยและการบริการวิชาการแก่ชุมชน” (5.1-4-8) และการวิจัยเรื่องการพัฒนากระบวนการเรียนรู้เพื่อถิ่นฐานบ้านเกิดและการพัฒนาเด็กและเยาวชนในจังหวัดลำปาง ระยะที่ 1 ปี พ.ศ.2554” (5.1-4-9) 
          2. สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินความความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการเรียนการสอนโดยระบุ ไว้ใน มคอ.5 ของรายวิชาการศึกษาเอกเทศทางการศึกษาปฐมวัย (5.1-4-10)  และประเมินความสำเร็จของการ บูรณาการงานบริการวิชาการกับการวิจัยโดยระบุไว้ในรายงานวิจัย เรื่อง ปัญหาการบริหารจัดการศึกษาแบบเรียนรวมของครูผู้สอนในระดับปฐมวัย โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 (5.1-4-11) 
         3. สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มีการประเมินความความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการเรียนการสอนโดยระบุไว้ใน มคอ.5 ของรายวิชาการใช้เทคโนโลยีและแหล่งการเรียนรู้ (5.1-4-12) และรายวิชาค่ายภาษาเพื่อพัฒนาทักษะ (5.1-4-13)  

 2. คณะวิทยาศาสตร์
    คณะวิทยาศาสตร์ มีการประเมินความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคม ดังนี้
         ด้านการเรียนการสอน
         1) สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มีการ
ประเมินผลสำเร็จของการบูรณาการวิชาการแก่สังคมกับการสอน โดยพิจารณาจากผลการเรียนของนักศึกษาและผลการประเมินความพึงพอใจที่นักศึกษามีต่อรายวิชา    ที่อยู่ในระดับมาก (5.1-4-14)
        2) สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการประเมินผลสำเร็จของการบูรณาการวิชาการแก่สังคมกับการสอน โดยพิจารณาจากผลการเรียนของนักศึกษาและผลการประเมินความพึงพอใจที่นักศึกษามีต่อรายวิชา    ที่อยู่ในระดับมาก (5.1-4-15)
        3) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา มีการประเมิน ผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาระหว่างและหลังอาจารย์ผู้สอนจัดการเรียน  การสอนด้วยเทคนิคและความรู้จากการอบรม (5.1-4-16)
         ด้านงานวิจัย
        1) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มีการประเมินความสำเร็จของการบูรณาการทางวิชาการแก่สังคมกับ    การงานวิจัย ผู้วิจัยได้กำหนดวัตถุประสงค์ของงานวิจัยและนำเสนอรายงานความสำเร็จของงานวิจัย (5.1-4-17) สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จของการบูรณาการ       
        2) สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มีการประเมินความสำเร็จของการบูรณาการทางวิชาการแก่สังคมกับการงานวิจัย ผู้วิจัยได้กำหนดวัตถุประสงค์ของงานวิจัยและนำเสนอรายงานความสำเร็จของงานวิจัย (5.1-4-18) สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จของการบูรณาการ       
        3) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย ซึ่งประเมินจากการนำไปใช้ประโยชน์โดยผู้รับการอบรม (5.1-4-19)

3. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
      คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการ ทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย ดังนี้
1) บูรณาการกับการเรียนการสอน
     1.1)  สาขาวิชาออกแบบประยุกต์ศิลป์ มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการ      แก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย โดยได้จัดทำเป็นรายงานผลการดำเนินการบริการวิชาการ สาขาวิชาออกแบบประยุกต์ศิลป์ ปีการศึกษา 2554 (5.1-4-20)
     1.2) สาขาวิชาดนตรี มีการประเมินผลความสำเร็จ
ของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับ การเรียน (5.1-4-21)
 2) บูรณาการด้านการวิจัย
     2.1) สาขาวิชาภาษาไทย มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการวิจัย เรื่องการศึกษาปัจจัยความสำเร็จที่มีต่อการบูรณาการการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน (5.1-4-22) 
     2.2) สาขาวิชาภาษาจีน มีการประเมินผลความสำเร็จ ของการบูรณาการงานบริการวิชาการกับ  การวิจัย เรื่อง การพัฒนาด้านทักษะการฟังและการพูดภาษาจีนสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียนเทศบาล 4 นครลำปาง (5.1-4-23)    

4. คณะวิทยาการจัดการ
     คณะวิทยาการจัดการได้มอบหมายให้อาจารย์ประจำสาขาวิชาที่รับผิดชอบโครงการบริการวิชาการ ได้ทำการติดตามและประเมินผลสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการเรียนการสอนและการวิจัย         ดังรายการหลักฐาน (5.1-4-24)  และ (5.1-4-25) ด้วยการระบุรายละเอียดผลการประเมินความสำเร็จของการ บูรณาการงานบริการวิชาการกับการเรียนการสอน       ในมคอ.5 ของรายวิชานั้นและระบุผลประเมินความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการวิจัย         ในรายงานผลการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการโดยใช้แบบประเมินผลสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการ

 5. คณะเทคโนโลยีการเกษตร
    คณะเทคโนโลยีการเกษตร ได้มีการประเมินผลสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับ      การเรียนการสอนและการวิจัยของโครงการบริการวิชาการที่กำหนดไว้ในแผนบริการวิชาการประจำปีงบประมาณ 2554 (5.1-4-26) (5.1-4-27) ดังนี้

  1. ผลประเมินความสำเร็จของการบรูณาการโครงการตรวจวัดคุณภาพอาหารท้องถิ่นในรายวิชาปัญหาพิเศษวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารได้ประเมินผลจากผลการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้แก่ชุมชนพบว่านักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้จากการตรวจสอบคุณภาพอาหารท้องถิ่นมาใช้กับงานวิจัยปัญหาพิเศษวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร (5.1-4-28)

          ผลการประเมินความสำเร็จของการบูรณาการโครงการตรวจวัดคุณภาพอาหารท้องถิ่นในการวิจัย เรื่องผลการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนได้ประเมินผลจากผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน พบว่าสามารถนำผลการวิจัยไปแนะนำให้กับผู้ประการของชุมชนในการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ (5.1-4-29)

  1. ผลประเมินความสำเร็จของการบรูณาการโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคการขยายพันธุ์ผักหวานป่าด้วยเมล็ดในรายวิชาปัญหาพิเศษ  5004902 ได้ประเมินผลจากทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการที่นักศึกษาได้ให้บริการวิชาการ โดยการสอบปัญหาพิเศษของนักศึกษา พบว่านักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้าอบรมเชิงปฏิบัติการมาใช้กับการทำปัญหาพิเศษได้เป็นอย่างดี (5.1-4-30)

         ผลประเมินความสำเร็จของการบูรณาการโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคการขยายพันธุ์ผักหวานป่าด้วยเมล็ดในการวิจัยเรื่องผลของการบรรจุหีบห่อ       และสภาวะการเก็บรักษาต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ผักหวานป่าได้ประเมินผลจากผลการวิจัยที่ได้ ซึ่งพบว่าสามารถเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ผักหวานป่าให้มีช่วงระยะเวลาการขยายพันธุ์ที่นานขึ้นได้เป็นระยะเวลา 45 วัน (5.1-4-31)      

6.  คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
     คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีประเมินผลสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัยดังนี้
      1. สาขาวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์  มีโครงการเรื่อง
การสัมมนาเชิงวิชาการ “เทคโนโลยีใหม่ในเครื่องวัดเซรามิก” เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2555 (5.1-4-32) ซึ่งได้บูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชา 5521501 วัสดุเซรามิกส์ ภาคเรียนที่ 2/2554 โดยมีการให้นักศึกษาได้เตรียมความพร้อมในการทดลองเครื่องวัดเซรามิกส์      ในสัปดาห์ที่ 14 (5.1-4-33) และการวิจัยเรื่องการบูรณาการองค์ความรู้จากโครงการบริการวิชาการร่วมกับการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ในการเรียนการสอนรายวิชาวัสดุเซรามิกส์ กิจกรรมการทดลองที่ 6 Glaze and Materials. (5.1-4-34)
     2. สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ มีโครงการบริการวิชาการค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นบ้านป่าเหมี้ยง วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 (5.1-4-35) ซึ่งได้บูรณาการกับ การเรียนการสอนในรายวิชา 5674801 ค่ายฝึกพัฒนาซอฟต์แวร์ ภาคเรียนที่ 2/2554 (5.1-4-36) และการวิจัย เรื่อง ระบบสารสนเทศการให้ข้อมูลร้านอาหารและสถานที่ท่องเที่ยวบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ จังหวัดลำปาง (5.1-4-37)
    3. สาขาวิชาเทคโนโลยีโยธา มีโครงการอบรม Sketch up เพื่อการบูรณาการการเรียนการสอน ระหว่างวันที่ 24–25 ธันวาคม 2554 (5.1-4-38) ซึ่งได้บูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชา 5562704 การสำรวจและการประมาณราคา ภาคเรียนที่ 1/2554 (5.1-4-39) และการวิจัยเรื่องการประยุกต์ใช้โปรแกรม SketchUp 7.0 ในการพัฒนาการเรียนรู้ส่วนประกอบของอาคาร (5.1-4-40)
    4. สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มอาชีพเพาะเห็ดด้วยรูปแบบการบริหารจัดการ มีนาคม – ตุลาคม 2554 (5.1-4-41) ซึ่งได้บูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชา ฟิสิกส์ช่างอุตสาหกรรม (5.1-4-42) และการวิจัยเรื่องการบริหารจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ของกลุ่มอาชีพด้วยเทคโนโลยีการเพาะเห็ด ต.ปงยางคก อ.ห้างฉัตร จ.ลำปางกระบวนการทำความร้อนไปแปรรูปชีวมวล (5.1-4-43)

5.1-4-1 รายงานการดำเนินงานปีงบประมาณ 2554 ไตรมาส 3 -4     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-2 รายงานผลโครงการค่ายอาสาพัฒนา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-3 มคอ.5 รายวิชาภาษาไทยกับการเรียนรู้ชุมชน     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-4 มคอ.5 รายวิชาการสร้างหนังสือสำหรับเด็กและเยาวชน     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-5 มคอ.5 รายวิชาการเขียน สารคดี     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-6 มคอ.5 รายวิชาความ สัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมต่าง ประเทศกับวรรณกรรมไทย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-7 มคอ.5 รายวิชาวรรณกรรมวิจารณ์     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-8 รายงานวิจัย เรื่อง"วิธีวิทยาการถ่ายทอดจิตสำนึกต่อคุณค่าของเพื่อนมนุษย์จากวรรณกรรมที่นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทยเรียนรู้ในหลักสูตร เพื่อบูรณาการสู่การจัดค่ายภาษาไทยและการบริการวิชาการแก่ชุมชน"     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-9 รายงานวิจัยเรื่องการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ เพื่อถิ่นฐานบ้านเกิดและการพัฒนาเด็กและเยาวชนในจังหวัดลำปาง ระยะที่ 1 ปี พ.ศ. 2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-10 มคอ.5 รายวิชาการศึกษาเอกเทศทางการศึกษาปฐมวัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-11 รายงานวิจัย เรื่องปัญหาการบริหารจัดการศึกษาแบบเรียนรวมของครูผู้สอน ในระดับปฐมวัย โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปางเขต 1     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-12 มคอ.5 รายวิชาการใช้เทคโนโลยีและแหล่งการเรียนรู้     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-13 มคอ.5 รายวิชาค่ายภาษาเพื่อพัฒนาทักษะ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-14 มคอ.5 รายวิชาบริหารโครงการเทคโนโลยี     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-15 มคอ.5 รายวิชาบริหารโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-16 มคอ.5 รายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-17 รายงานวิจัยเรื่อง "ปัจจัยทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อการเกิดดินถล่มบริเวณ ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน จ.ลำปาง"     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-18 รายงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาต้นแบบระบบจัดการเรียนรู้ระบบออนไลน์สำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาใน จังหวัดลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-19 รายงานโครงการ การอบรมการเตรียมชุดประเมินแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในอากาศอย่างง่าย ให้ครูและนักเรียนในอำเภอแม่เมาะ สำหรับครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ และนักเรียน อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-20 รายงานผลการดำเนินการบริการวิชาการสาขาวิชาออกแบบประยุกต์ศิลป์ ปีการศึกษา 2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-21 ประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนสาขาวิชาดนตรี     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-22 รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาปัจจัยความสำเร็จที่มีต่อการบูรณาการการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-23 รายงานผลการดำเนินงานการบริการวิชาการ สาขาวิชาภาษาจีน     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-24 รายงานผลการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการที่บูรณาการกับการเรียนการสอนและการวิจัย จำนวน 7 เรื่อง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-25 มคอ.5 รายวิชาที่ บูรณาการงานบริการทางด้านวิชาการกับการเรียนการสอนและการวิจัย
1. มคอ.5 รายวิชาการบัญชีชั้นสูง 2
2. มคอ.5 รายวิชาการตรวจสอบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์
3. มคอ.5 รายวิชาการวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ
4. มคอ.5 รายวิชาสัมมนานิเทศศาสตร์
5. แบบประเมินผลสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการ "โครงการทำโคมหูกระต่าย" และงานวิจัยเรื่อง"การศึกษาและอนุรักษ์การประดิษฐ์โคมล้านนาบ้านวังหม้อ ตำบลต้นธงชัย อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง กรณีศึกษา : โคมหูกระต่าย"ในบทที่ 11 วิชาการบริหารการผลิต ภาคเรียนที่ 2/2554
6. มคอ.5 รายวิชาหลักตลาดบริการ
7. มคอ.5 รายวิชาหลักการตลาด
    $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-26 แผนบริการวิชาการ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-27 แบบฟอร์มการบูรณาการงานบริการวิชาการ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-28 มคอ. 5 รายวิชาปัญหาพิเศษวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-29 สรุปโครงการการบริการตรวจวัดคุณภาพอาหารท้องถิ่น     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-30 มคอ.5 รายวิชาปัญหาพิเศษ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-31 รายงานการวิจัยเรื่องผลของการบรรจุหีบห่อและสภาวะการเก็บรักษาต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ผักหวานป่า     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-32 สรุปโครงการเรื่องการสัมมนาเชิงวิชาการ"เทคโนโลยีใหม่ในเครื่องวัดเซรามิก" เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-33 มคอ.3 รายวิชาวัสดุเซรามิกส์ ภาคเรียนที่ 2/2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-34 วิจัยเรื่องการบูรณาการองค์ความรู้จากโครงการบริการวิชาการร่วมกับการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ในการเรียนการสอนรายวิชาวัสดุเซรามิกส์ กิจกรรมการทดลองที่ 6 Glaze and Materials.     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-35 สรุปโครงการบริการวิชาการค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นบ้านป่าเหมี้ยง วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-36 มคอ.3 รายวิชาค่ายฝึกพัฒนาซอฟต์แวร์ ภาคเรียนที่ 2/2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-37 วิจัยเรื่องระบบสารสนเทศการให้ข้อมูลร้านอาหารและสถานที่ท่องเที่ยวบนโทรศัพท์เคลื่อนที่จังหวัดลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-38 สรุปโครงการอบรมSketch up เพื่อการบูรณาการการเรียนการสอน ระหว่างวันที่ 24–25 ธันวาคม 2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-39 มคอ.3 รายวิชาการสำรวจและการประมาณราคา ภาคเรียนที่ 1/2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-40 วิจัยเรื่องการประยุกต์ใช้โปรแกรม SketchUp 7.0 ในการพัฒนาการเรียนรู้ส่วนประกอบของอาคาร     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-41 สรุปโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มอาชีพเพาะเห็ดด้วยรูปแบบการบริหารจัดการ มีนาคม – ตุลาคม 2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-42 มคอ.3 รายวิชาฟิสิกช่างอุตสาหกรรม     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-4-43 วิจัยเรื่องการบริหารจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ของกลุ่มอาชีพด้วยเทคโนโลยีการเพาะเห็ด ต.ปงยางคก อ.ห้างฉัตรจ.ลำปาง กระบวนการทำความร้อนไปแปรรูปชีวมวล     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 : ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

5

มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคม      กับการเรียนการสอนและการวิจัย มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้

มหาวิทยาลัยได้มีการสร้างความเข้าใจในการนำเอาผลการประเมินความสำเร็จ ไปปรับปรุง และบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัยร่วมกับหน่วยงานระดับคณะ โดยผ่านกิจกรรมต่างๆ จำนวน 5 โครงการภายใต้การดำเนินงานของสถาบันวิจัย (5.1-5-1) และ (5.1-5-2) ดังนี้

  1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสำรวจความต้องการรับบริการวิชาการกับชุมชนเป้าหมาย
  2. ประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาระบบและกลไกของการบริการวิชาการแก่ชุมชน
  3. จัดทำโครงการ/กิจกรรมที่บูรณาการการบริการกับการวิจัยและ/หรือการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้และความเข้มแข็งของชุมชน
  4. ถอดบทเรียน ประเมินพัฒนาการของการเรียนรู้ของชุมชนและ/หรือความเข้มแข็งของชุมชน
  5. การจัดการความรู้ชุมชนบริการวิชาการ

รายละเอียดและหลักฐานการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการจัดการเรียนการสอนของคณะต่างๆ รวม 6 คณะได้แก่
คณะครุศาสตร์
       สาขาวิชาได้มีการนำผลการประเมินการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัยเสนอในที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสาขาวิชา (5.1-5-3) เพื่อนำข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนและการวิจัยในการจัดทำแผนการดำเนินการบริการวิชาการแก่สังคมในปีงบประมาณ 2555 (5.1-5-4)


คณะวิทยาศาสตร์ 
      คณะวิทยาศาสตร์มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย ดังนี้
      1. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ได้มีข้อเสนอแนะการบูรณาการฯ ในเล่มสรุปโครงการการ บูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย (5.1-5-5) และสาขาวิชาฯ ได้มีจัดประชุมกรรมการบริหารสาขาวิชาฯ (5.1-5-6) เพื่อนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการวิชาการ และวางแผนโครงการบริการวิชาการด้านสิ่งแวดล้อม    ไว้ในแผนปฏิบัติราชการในปีงบประมาณ 2555 (5.1-5-7)
      2. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา ได้มีการนำผล  การประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการ       ทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย   มีการนำผลการประเมินโครงการทั้งสองโครงการรายงานในที่ประชุมสาขาวิชาเพื่อพิจารณาหาทางแก้ไข           ไปปรับปรุงจากข้อเสนอแนะต่างๆ


คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
     คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย ดังนี้
     1. สาขาวิชาภาษาจีน ได้นำผลการประเมินความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียน ตามแบบรายงานผลการดำเนินการบริการวิชาการ สาขาวิชาภาษาจีน ปีการศึกษา2554 (5.1-5-8) ไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัยในโครงการ “บูรณาการวิชาการกับการเรียนการสอนและการวิจัยสาขาวิชาภาษาจีน ณ โรงเรียนแม่ทะพัฒนา จังหวัดลำปาง” วันที่ 1 พฤศจิกายน 2554 ถึง วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2555 (5.1-5-9)   
     2. สาขาวิชาภาษาไทย ได้มีการนำผลการประเมิน ไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย โดยกำหนดแผนและวิธีการดังรายละเอียดอยู่ในรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2555 (5.1-5-10)   
     3. สาขาวิชาออกแบบประยุกต์ศิลป์ มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการ  ทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย โดยได้นำผลเข้าประชุมคณะกรรมการบริหารสาขา (5.1-5-11) โดยมีมติให้มีการจัดกิจการการบูรณาการการบริการวิชาการกับเรียนการสอนและการวิจัย    ซึ่งได้กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555 (5.1-5-12)


คณะวิทยาการจัดการ        คณะกรรมการบริหารงานบริการวิชาการของคณะวิทยาการจัดการได้มีการนำเอาผลการประเมินความสำเร็จไปทำการปรับปรุงและการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน  และการวิจัย ตามรายการหลักฐานดังนี้ (5.1-5-13) (5.1-5-14) (5.1-5-15) (5.1-5-16) (5.1-5-17)

คณะเทคโนโลยีการเกษตร
     คณะเทคโนโลยีการเกษตร ได้นำผลการประเมินความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน และงานวิจัยดังกล่าวข้างต้น เข้าที่ประชุมคณาจารย์ประจำคณะเทคโนโลยีการเกษตร (5.1-5-18) เพื่อพิจารณาแนวทางปรับปรุงการบูรณาการในปีการศึกษาหน้า โดยที่ประชุมมีมติให้ดำเนินการปรับปรุงพัฒนาการบริการวิชาการแก่สังคม โดยให้มีการจัดการองค์ความรู้คณะเทคโนโลยีการเกษตร     ในประเด็นการบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ และกำหนดโครงการอบรมเทคนิค  การขยายพันธุ์ผักหวานป่าด้วยเมล็ดมีครั้งที่ 3 ในปีงบประมาณ 2555 (5.1-5-19) การระบุระยะเวลา  การทำวิจัยที่ได้จากงานบริการวิชาการให้เสร็จสิ้นภายใน 3 เดือน หลังจากสิ้นสุดโครงการในคู่มือบริการวิชาการ (5.1-5-20) และคณะควรมีการพิจารณาจัดสรรงบประมาณสนับสนุนงานวิจัยที่ได้จากการงานบริการวิชาการในปีงบประมาณถัดไป


คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
      คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมได้นำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนกับการเรียนการสอนและการวิจัยดังนี้
      การบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน เช่น โครงการเรื่องการสัมมนาเชิงวิชาการ “เทคโนโลยีใหม่ในเครื่องวัดเซรามิกส์”เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2555 (5.1-5-21) ซึ่งได้บูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชา 5521501 วัสดุเซรามิกส์ ภาคเรียนที่ 2/2554 (5.1-5-22) และได้นำผลจากการให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในโครงการบริการวิชาการมาปรับปรุงการดำเนินงาน ซึ่งระบุอยู่ในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (มคอ.5) รายวิชา 5521501 วัสดุเซรามิกส์ ภาคเรียนที่ 2/2554
(5.1-5-23) ในหมวดที่ 6 แผนการปรับปรุงโดยปรับปรุง เนื้อหาและสนับสนุนให้นักศึกษาได้เข้าร่วมโครงการบริการวิชาการศิลปวัฒนธรรม เพื่อการบูรณาการและจัดให้มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่เกี่ยวกับเหมืองวัตถุดิบ
      การบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคม        กับการเรียนการสอนกับการวิจัย เช่น โครงการบริการวิชาการค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นบ้านป่าเหมี้ยง         (5.1-5-24) ซึ่งได้บูรณาการกับวิจัย เรื่อง ระบบสารสนเทศการให้ข้อมูลร้านอาหารและสถานที่ท่องเที่ยวบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ จังหวัดลำปาง (5.1-5-25) โดยมีการจัดกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นชุมชนบ้านป่าเหมี้ยง และนำข้อมูลที่ได้นำไปใช้เป็นแหล่งข้อมูลของงานวิจัย และข้อเสนอเสนอแนะจากโครงการที่นำไปใช้กับงานวิจัยยังไม่ครบทุกพื้นที่ของจังหวัดลำปาง ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ทำการสำรวจข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อรองรับความต้องการของนักท่องเที่ยว และจัดโครงการดังกล่าวในปีต่อไป

5.1-5-1 รายงานประจำปีสถาบัน วิจัยและพัฒนาประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-2 แผนปฏิบัติราชการ ปี 2554 และ 2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-3 รายงานการประชุมสาขาวิชา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-4 แผนการดำเนินงานบริการวิชาการแก่สังคมปีงบประมาณ 2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-5 สรุปโครงการบริการวิชาการและรายงานผลการดำเนินงานบริการวิชาการฯ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-6 รายงานการประชุมกรรมการบริหารสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4/2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-7 แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2555 หน้า 272     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-8 รายงานผลการดำเนินการบริการวิชาการ สาขาวิชาภาษาจีน ปีการศึกษา 2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-9 สรุปโครงการ "บูรณาการวิชาการกับการเรียนการสอนและการวิจัยสาขาวิชาภาษาจีน ณ โรงเรียนแม่ทะพัฒนา จังหวัดลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-10 รายงานการประชุมสาขาวิชาภาษาไทย ครั้งที่ 2/2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-11 รายงานการประชุม สาขาวิชาออกแบบประยุกต์ศิลป์ ครั้งที่ 2/2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-12 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารสาขาออกแบบประยุกต์ศิลป์     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-13 แผนปฏิบัติราชการงานบริการวิชาการ ปี 2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-14 รายงานการประชุม
1. รายงานการประชุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ครั้งที่ 2 ภาคเรียนที่ 2/2554
2. รายงานการประชุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ครั้งที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2554
3. รายงานการประชุมสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ครั้งที่ 2/2555 วันที่ 14 มีนาคม 2555
    $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-15 มคอ.3 รายวิชาที่ได้มีการนำเอาผลการประเมินความสำเร็จไปทำการปรับปรุงและการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย
1. มคอ.3 รายวิชาการตรวจสอบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่2/2555
2. มคอ.3 รายวิชาการวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2/2554
    $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-16 สรุปผลโครงการManagement Fair ครั้งที่ 5     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-17 ลายมือชื่อนักศึกษา ที่เข้าร่วมกิจกรรมอบรมโคมล้านนางาน Management Fair ครั้งที่ 5     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-18 รายงานการประชุมคณาจารย์ประจำคณะเทคโนโลยีการเกษตร ครั้งที่ 7/2554 วันที่ 7 ธันวาคม2554 วาระที่ 5.5     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-19 โครงการบริการวิชาการเรื่องเทคนิคการขยายพันธุ์ผักหวานป่าเมล็ด รุ่นที่ 3 ปี2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-20 คู่มือบริการวิชาการ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-21 โครงการเรื่องการสัมมนาเชิงวิชาการ"เทคโนโลยีใหม่ในเครื่องวัดเซรามิก" เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-22 มคอ.3 รายวิชาวัสดุเซรามิกส์ ภาคเรียนที่ 2/2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-23 มคอ.5 รายวิชาวัสดุเซรามิกส์ ภาคเรียนที่ 2/2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-24 โครงการบริการวิชาการค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นบ้านป่าเหมี้ยง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
5.1-5-25 วิจัยเรื่องระบบสารสนเทศการให้ข้อมูลร้านอาหารและสถานที่ท่องเที่ยวบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ จังหวัดลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2                         :         กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม

หน่วยงานที่รับผิดชอบตัวบ่งชี้ระดับมหาวิทยาลัย    :  สถาบันวิจัยและพัฒนา

ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้                                           :   ผศ.วิพัฒน์ หมั่นการ                รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและกิจการพิเศษ

ผู้จัดเก็บข้อมูล / รายงานผลการดำเนินงาน            :  ผศ.ดร.จรีรัตน์ สุวรรณ์              ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา

ชนิดของตัวบ่งชี้         :         กระบวนการ
การคิดรอบปี             :         ปีการศึกษา
เกณฑ์มาตรฐาน         :        
              1. มีการสำรวจความต้องการของสังคม หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพ เพื่อประกอบการกำหนดทิศทางและการจัดทำแผนการบริการทางวิชาการตามจุดเน้นของสถาบัน
              2. มีความร่วมมือด้านบริการทางวิชาการเพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม หรือภาคเอกชน หรือภาครัฐ หรือหน่วยงานวิชาชีพ
              3. มีการประเมินประโยชน์หรือผลกระทบของการให้บริการทางวิชาการต่อสังคม
              4. มีการนำผลการประเมินในข้อ 3 ไปพัฒนาระบบและกลไกหรือกิจกรรมการให้บริการ       ทางวิชาการ
              5. มีการพัฒนาความรู้ที่ได้จากการให้บริการทางวิชาการและถ่ายทอดความรู้สู่บุคลากร ภายในสถาบันและเผยแพร่สู่สาธารณชน

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ
1 ข้อ

มีการดำเนินการ
2 ข้อ

มีการดำเนินการ
3 ข้อ

มีการดำเนินการ
4 ข้อ

มีการดำเนินการ
5 ข้อ

ผลการดำเนินงาน

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 : กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

1

มีการสำรวจความต้องการของสังคม หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพเพื่อประกอบการกำหนดทิศทางและการจัดทำแผนการบริการทางวิชาการตามจุดเน้นของสถาบัน มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้

มหาวิทยาลัยมีการสำรวจความต้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพ โดยมหาวิทยาลัยมีนโยบายให้แต่ละคณะดำเนินการสำรวจความต้องการของชุมชน (5.2-1-1) และสำรวจความต้องการของชุมชน โดยผ่านการดำเนินงานโครงการความร่วมมือทางวิชาการ         1 มหาวิทยาลัย 1 จังหวัด อันเป็นโครงการที่เป็นกลไกสำคัญในการทำงานที่ใกล้ชิดกับชุมชน เพื่อการนำองค์ความรู้ภายในมหาวิทยาลัย ซึ่งผลสรุป       การดำเนินงานโครงการ (5.2-1-2) ได้ถูกนำไปใช้ในการประกอบการกำหนดทิศทางและการจัดทำแผนการบริการทางวิชาการ ตามจุดเน้นของสถาบันและมหาวิทยาลัย เครื่องมือ/กระบวนการของ      แต่ละองค์กร
     นอกเหนือไปจากนี้มหาวิทยาลัยได้สนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยงานระดับคณะทั้ง 6 คณะ  ในการดำเนินงานสำรวจความต้องการของชุมชนตามพื้นที่เป้าหมายของคณะหรือตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ของงานบริการวิชาการของคณะ
รายละเอียดและหลักฐานการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการจัดการเรียนการสอนของคณะต่างๆ รวม 6 คณะ
คณะครุศาสตร์
      คณะครุศาสตร์ ได้มีการสำรวจความต้องการ  ของชุมชน (5.2-1-3) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดทำแผนดำเนินการบริการวิชาการแก่สังคมแก่หน่วยงานภายในตามจุดเน้นของสถาบัน โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ในการสำรวจ คือ ครู อาจารย์และบุคลากรทาง  การศึกษาในจังหวัดลำปาง
คณะวิทยาศาสตร์
       คณะวิทยาศาสตร์ ได้ทำการสำรวจความต้องการรับความรู้จากคณะฯ (5.2-1-4) แล้วนำเสนอต่อคณะกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ระหว่างการจัดโครงการ "ประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนแผนและ   จัดทำแผนยุทธศาสตร์" (5.2-1-5) เพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานด้านบริการวิชาการของคณะประจำปี 2554 ตามจุดเน้นของคณะ คือ บริการวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (5.2-1-6) จากนั้นจึงเสนอ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวและนำเสนอต่อคณะกรรมการประจำคณะ เพื่อพิจารณาให้ความเห็น (5.2-1-7)

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
       คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีการสำรวจความต้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพ เพื่อประกอบการกำหนดทิศทาง (5.2-1-8) เพื่อใช้ประกอบในการกำหนดทิศทางและการจัดทำแผนบริการวิชาการ (5.2-1-9) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานด้านการให้บริการแก่สังคมตามจุดเน้นและความเชี่ยวชาญของคณะ
คณะวิทยาการจัดการ
        คณะวิทยาการจัดการมีการสำรวจความต้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพโดยกระบวนการวิจัย (5.2-1-10) และมีการประกาศเขตพื้นที่ในการให้บริการวิชาการแก่สังคมคณะวิทยาการจัดการปีงบประมาณ 2554 เพื่อนำไปกำหนดเป็นทิศทางในการจัดทำแผนการบริการวิชาการของคณะ (5.2-1-11) รวมทั้งการจัดทำแผนงานด้านการบริการวิชาการของคณะ ประจำปี 2554 (5.2-1-12)

 

คณะเทคโนโลยีการเกษตร
         คณะเทคโนโลยีการเกษตร ได้ดำเนินการสำรวจความต้องการการบริการวิชาการของชุมชนในพื้นที่บริการของ คณะเทคโนโลยีการเกษตรมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง โดยจัดทำรายงาน   การสำรวจความต้องการการบริการวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2554 (5.2-1-13) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดตั้งงบประมาณ 2554 (5.2-1-14) ที่ได้ระบุโครงการบริการวิชาการไว้ในหัวข้อเทคนิคการขยายพันธุ์ผักหวานป่าด้วยเมล็ด ซึ่งเป็นหลักสูตรที่มีความต้องการเป็นอันดับที่สองรอง   จากหลักสูตรการฝึกอบรมเรื่องการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินตามผลการสำรวจความต้องการการบริการวิชาการของชุมชน ทั้งนี้เนื่องจากคณะมีความพร้อมด้านวัสดุอุปกรณ์สำหรับการสาธิตและฝึกอบรม    ในหลักสูตรการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินน้อยกว่าหลักสูตรเทคนิคการขยายพันธุ์ผักหวานป่าด้วยเมล็ด ดังนั้นทางคณะจึงเลือกหลักสูตรเทคนิคการขยายพันธุ์ผักหวานป่าด้วยเมล็ดเป็นหลักสูตร  สำหรับการฝึกอบรมในโครงการบริการวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2554 (5.2-1-15)
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

        คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีการสำรวจความต้องการของศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประจำปีการศึกษา 2554 (5.2-1-16) โดยมีการสำรวจความต้องการจากกลุ่มตัวอย่าง 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มนักศึกษาปัจจุบัน กลุ่มศิษย์เก่ากลุ่มบุคลากรทางการศึกษา กลุ่มพนักงานของรัฐ และกลุ่มพนักงาน สายวิชาการและสายสนับสนุน และมีการจัดทำแผนบริการวิชาการและได้มีการจัดทำแผนบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2554 (5.2-1-17) และแผนบริการวิชาการประจำปีงบประมาณ 2555 (5.2-1-18) เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนและเพื่อ กำหนดทิศทางตามจุดเน้นของคณะ
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
        $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น