องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1                      :         ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

หน่วยงานที่รับผิดชอบตัวบ่งชี้ระดับมหาวิทยาลัย    :  สถาบันวิจัยและพัฒนา

ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้                                           :   ผศ.วิพัฒน์ หมั่นการ                รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและกิจการพิเศษ

ผู้จัดเก็บข้อมูล / รายงานผลการดำเนินงาน            :  ผศ.ดร.จรีรัตน์ สุวรรณ์              ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา

ชนิดของตัวบ่งชี้         :         กระบวนการ
การคิดรอบปี             :         ปีการศึกษา
เกณฑ์มาตรฐาน         :        
              1. มีระบบและกลไกบริหารงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนด้านการวิจัยของสถาบัน และดำเนินการตามระบบที่กำหนด
              2. มีการบูรณาการกระบวนการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์กับการจัดการเรียนการสอน
              3. มีการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์และให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณการวิจัยแก่อาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ
              4. มีการจัดสรรงบประมาณของสถาบัน เพื่อเป็นทุนวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
              5. มีการสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ตามอัตลักษณ์ของสถาบันอย่างน้อยในประเด็นต่อไปนี้
                 - ห้องปฏิบัติการวิจัยฯ หรือหน่วยวิจัยฯ หรือศูนย์เครื่องมือ หรือศูนย์ให้คำปรึกษาและสนับสนุนการวิจัยฯ
                 - ห้องสมุดหรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจัยฯ
                 - สิ่งอำนวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจัยฯ เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการวิจัย
                 - กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมงานวิจัยฯ เช่น การจัดประชุมวิชาการ การจัดแสดงงานสร้างสรรค์ การจัดให้มีศาสตราจารย์อาคันตุกะหรือศาสตราจารย์รับเชิญ (visiting professor)
              6. มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนในข้อ 4 และข้อ 5 อย่างครบถ้วนทุกประเด็น
              7. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ของสถาบัน
              8. มีระบบและกลไกเพื่อสร้างงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์บนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือจากสภาพปัญหาของสังคม เพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นและสังคม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด (เฉพาะกลุ่ม ข และ ค 2)

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ
1 ข้อ
ตามเกณฑ์ทั่วไป

มีการดำเนินการ
2 หรือ 3 ข้อ
ตามเกณฑ์ทั่วไป

มีการดำเนินการ
4 หรือ 5 ข้อ
ตามเกณฑ์ทั่วไป

มีการดำเนินการ
6 หรือ 7 ข้อ
ตามเกณฑ์ทั่วไป

มีการดำเนินการ
ครบ 7 ข้อ ตาม
เกณฑ์ทั่วไป และ ครบถ้วนตามเกณฑ์ มาตรฐาน ข้อ 8

ผลการดำเนินงาน

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

1

มีระบบและกลไกบริหารงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผน    ด้านการวิจัยของสถาบัน และดำเนินการตามระบบที่กำหนด มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้

มหาวิทยาลัยมีระบบและกลไกบริหารงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ดังนี้
        1. กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ไว้ใน    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะ 10 ปี พ.ศ.2551 – 2560 (4.1-1-1) และแผนกลยุทธ์การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง พ.ศ.2555–2559 (แผนที่กลยุทธ์ หน้า 34) (4.1-1-2) 
        2. มหาวิทยาลัยมีสถาบันวิจัยและพัฒนาเป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนกลยุทธ์ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ สถาบันวิจัยและพัฒนา  ได้ถอดประเด็นกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยพร้อมทั้งวิเคราะห์ผลของการประเมินการประกันคุณภาพภายในประจำปี 2554 ผลของการประเมินตามตัวชี้วัดของ กพร. สกอ. และสมศ. นำมาเป็นข้อมูลในการจัดทำแผนปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2555 เพื่อให้แผนการดำเนินงานด้านการวิจัยสอดคล้องกับกลยุทธ์ตัวชี้วัดด้านการวิจัยที่เกี่ยวข้อง (4.1-1-3) พร้อมทั้งจัดทำคู่มือนักวิจัยเพื่อให้หน่วยงานของมหาวิทยาลัยนำไปใช้เป็นแนวทาง ขั้นตอนและหลักเกณฑ์ด้านการวิจัย (4.1-1-4)
        ในการดำเนินการตามแผนได้กำหนดผู้รับผิดชอบ มีงบประมาณสนับสนุน มีการตรวจสอบติดตาม มีการประเมินและปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ  เพื่อบรรลุเป้าหมายของแผน โดยกลไกในการขับเคลื่อนระบบดังกล่าว มหาวิทยาลัยได้แต่งตั้งคณะกรรมการและจัดทำประกาศ เพื่อดำเนินการ  ดังนี้
        1. มีคณะกรรมการประจำสถาบันวิจัย และพัฒนาโดยมีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัยและตัวแทนคณาจารย์                     (4.1-1-5) 
        2. มีคณะกรรมการส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการ (4.1-1-6) ซึ่งกรรมการเป็นตัวแทนจากทุกหน่วยงานของมหาวิทยาลัย
        3. มีประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เรื่อง การให้ทุนอุดหนุนการวิจัยสำหรับอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (4.1-1-7 , 4.1-1-8) 
        4. มีประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เรื่องแนวปฏิบัติการเบิกจ่ายงบดำเนินงาน : หมวดค่าตอบ แทน ใช้สอย และวัสดุฯ (4.1-1-9) 
        5. มีข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ว่าด้วยการกำหนดภาระงานของคณาจารย์และผู้บริหาร พ.ศ. 2555 (4.1-1-10) 
        6. มีประกาศหลักเกณฑ์การให้เงินรางวัลสำหรับผลงานวิชาการผลงานวิจัย หรือผลงานสร้างสรรค์ (4.1-1-11) 
        7. มีประกาศหลักเกณฑ์การจัดทำงบประมาณในการดำเนินงานวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง พ.ศ. 2555 (4.1-1-12) 
        8. มีการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนด้านการวิจัย ได้แก่ โครงการสำรวจศักยภาพ ปัญหาความต้องการชุมชนในจังหวัดลำปาง  โครงการส่งเสริม สนับสนุนการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ โครงการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์เพื่อการแข่งขัน การใช้ประโยชน์ รวมทั้งนำไปสู่การจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา และการผลิตในเชิงพาณิชย์  โครงการพัฒนาศักยภาพในการเขียนตำราและบทความทางวิชาการ โครงการพัฒนาระบบการบริหารการวิจัย สร้างศักยภาพนักวิจัย กิจกรรมเที่ยงวันสรรมาคุย เรื่อง การสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยและงานสร้างสรรค์  โครงการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์และให้ความรู้ ด้านจรรยาบรรณการวิจัยแกอาจารย์ประจำ และนักวิจัย โครงการสนับสนุนการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ผลงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติโครงการบูรณาการกระบวนการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์กับการเรียนการสอน โครงการสนับสนุนการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ โครงการส่งเสริมสนับสนุนการนำผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ไปใช้ประโยชน์และเพื่อการแข่งขัน (4.1-1-13)
        9. มีประกาศ เรื่อง เกณฑ์การจัดสรรทุนอุดหนุนโครงการวิจัยจากงบประมาณภายในของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง พ.ศ. 2553 (4.1-1-14) 

        10. มีกองทุนวิจัยเพื่อสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ของคณาจารย์ในมหาวิทยาลัย (ระเบียบ/หน้าสมุดบัญชีกองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (4.1-1-15 , 4.1-1-16)
4.1-1-1
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะ 10 ปี พ.ศ. 2551– 2560 (หน้า 4–5 ,21,31)     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-1-2
กลยุทธ์การพัฒนา พ.ศ.2555–2559 (แผนที่กลยุทธ์หน้า 34)     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-1-3
แผนปฏิบัติงานด้านการวิจัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-1-4
คู่มือนักวิจัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-1-5
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประจำสถาบันวิจัยและพัฒนา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-1-6
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-1-7
ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เรื่อง แนวทางการสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัยฯ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-1-8
ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เรื่อง การให้ทุนอุดหนุนการวิจัยสำหรับอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-1-9
ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เรื่องแนวปฏิบัติการเบิกจ่ายงบ ดำเนินงาน:หมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุฯ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-1-10
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ว่าด้วยการกำหนดภาระงานของคณาจารย์และผู้บริหาร พ.ศ. 2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-1-11
ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เรื่อง หลักเกณฑ์การให้เงินรางวัลสำหรับผลงานวิชาการผลงานวิจัย หรือผลงานสร้างสรรค์ พ.ศ.2554 ลงวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-1-12
ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำงบประมาณในการดำเนินงานวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง พ.ศ. 2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-1-13
แผนปฏิบัติงานปี 2555-2556 และรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-1-14
ประกาศ เรื่อง เกณฑ์การจัดสรรทุนอุดหนุนโครงการวิจัยจากงบประมาณภายในของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง พ.ศ. 2553     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-1-15
ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางว่าด้วยกองทุนวิจัยและการให้ทุนอุดหนุนการวิจัย พ.ศ. 2549     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-1-16
บัญชีกองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

2

มีการบูรณาการกระบวนการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์กับการจัดการเรียนการสอนมหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้

มหาวิทยาลัยได้มอบหมายให้ทุกคณะดำเนินการการบูรณาการกระบวนการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์กับการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
         คณะครุศาสตร์
 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยมีการนำกระบวนการวิจัยบูรณาการสู่การเรียนการสอนในรายวิชา ได้แก่  รายวิชาการศึกษาเอกเทศทางการศึกษาปฐมวัย โดยให้นักศึกษาสืบค้นเอกสารตำรางานวิจัย  สร้างเครื่องมือ ทดลอง วิเคราะห์ข้อมูล (4.1-2-1) รายวิชาการสัมมนาการศึกษาปฐมวัย  โดยให้นักศึกษาสำรวจความต้องการของผู้ปกครองเกี่ยวกับหัวข้อการจัดสัมมนาทางการศึกษาปฐมวัยโดยใช้แบบสอบถามและนำข้อมูลไปวิเคราะห์ (4.1-2-2) รายวิชาการจัดการเรียนรู้ปฐมวัย โดยให้นักศึกษาสังเกตและเก็บข้อมูลพฤติกรรมของเด็กปฐมวัย เพื่อนำมาสรุปให้เห็นภาพรวมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย อายุต่ำกว่า 3 ปี (4.1-2-3) รายวิชาการศึกษาผลงานวิจัยทางการศึกษาปฐมวัยโดยให้นักศึกษาสืบค้นงานวิจัย และวิเคราะห์สรุปแบ่งกลุ่มลักษณะของงานวิจัย ซึ่งถือว่าเป็นกระบวนการวิจัยเอกสารรูปแบบหนึ่ง (4.1-2-4)
             คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
สาขาวิชาการออกแบบประยุกต์ศิลป์ มีการบูรณาการกระบวนการวิจัยกับการจัดการเรียนการสอน  ดังนี้ มีรายวิชาที่นำกระบวนการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์บูรณาการสู่การเรียนการสอน ในรายวิชาโครงการพิเศษออกแบบประยุกต์ศิลป์ (4.1-2-5)  โดยให้นักศึกษาค้นคว้าและจัดทำรูปเล่มเป็นศิลปนิพนธ์และชิ้นงานประกอบ (4.1-2-6)
         คณะวิทยาการจัดการ
สาขาวิชาการตลาดกำหนดให้นักศึกษาสาขาวิชาการตลาดมีส่วนร่วมในงานวิจัยของอาจารย์ เรื่องรูปแบบการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการเพื่อยกระดับคุณภาพเชิงพาณิชย์ของวิสาหกิจชุมชนจังหวัดลำปาง (4.1-2-7) และมีการนำกระบวนการวิจัยบูรณาการสู่การเรียนการสอนในรายวิชาการสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการ (4.1-2-8)       
      คณะวิทยาศาสตร์

        รายวิชา “จุลชีววิทยา” (4.1-2-9) สาขาวิชาชีววิทยา มีการนำกระบวนการที่ใช้ในงานวิจัยมาใช้ในการสอนหัวข้อปฏิบัติการ โดยเฉพาะเรื่องการศึกษาราเส้นใย เป็นการนำวิธีการคัดแยกเชื้อราจากกระเทียม (งานวิจัยเรื่อง การควบคุมเชื้อราที่ปนเปื้อนในกระเทียมระหว่างเก็บรักษาด้วยชีววิธี) มาให้นักศึกษาได้ปฏิบัติจริง และเรื่องจุลชีววิทยาและการประยุกต์ โดยมีการใช้โจทย์ปัญหาให้นักศึกษาสังเคราะห์ความรู้แก้ปัญหาด้วยกระบวนการวิจัย  
         คณะเทคโนโลยีการเกษตร
        รายวิชาการผลิตผัก (4.1-2-10) โดยอาจารย์ผู้สอนมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการผลิตผักแต่ละชนิด และให้นำผักชนิดที่ตนเองค้นคว้ามาปลูกทดลองในแปลงแล้วบันทึกขั้นตอนในการปฏิบัติงานพร้อมทั้งข้อมูลการเจริญเติบโตของผัก ในรายงานปฏิบัติการรายวิชาการผลิตผัก (4.1-2-11) เสนอต่ออาจารย์ประจำวิชา  
        คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 
        สาขาวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์  สาขาวิชาได้มีการวางแผนการนำกระบวนการวิจัยบูรณาการสู่การเรียนการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักศึกษาจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานในรายวิชา (มคอ.3) ตามรูปแบบกระบวนการวิจัยและสรุปเป็นรูปเล่มรายงาน จำนวน 4 รายวิชาคือ รายวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ 1 (4.1-2-12) รายวิชาเนื้อเซรามิกส์ 1 (4.1-2-13) รายวิชาการทดสอบและวิเคราะห์ทางเซรามิกส์ 1
(4.1-2-14) รายวิชาสีสำเร็จรูป 1 (4.1-2-15)

4.1-2-1
มคอ.3 รายวิชาการศึกษาเอกเทศทางการศึกษาปฐมวัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-2-2
มคอ.3 รายวิชาการสัมมนาการศึกษาปฐมวัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-2-3
มคอ.3 รายวิชาการจัดการเรียนรู้ปฐมวัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-2-4
มคอ.3 รายวิชาการศึกษาผลงานวิจัยทางการศึกษาปฐมวัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-2-5
มคอ.3 รายวิชาโครงการพิเศษออกแบบประยุกต์ศิลป์     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-2-6
รูปเล่มเป็นศิลปนิพนธ์และชิ้นงาน สาขาวิชาการออกแบบประยุกต์ศิลป์     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-2-7
เรื่องรูปแบบการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการเพื่อยกระดับคุณภาพเชิงพาณิชย์ของวิสาหกิจชุมชนจังหวัดลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-2-8
มคอ.3 และมคอ.5 รายวิชาการวิจัยธุรกิจ รายวิชาการสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-2-9
มคอ.3 รายวิชาจุลชีววิทยา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-2-10
มคอ.3 วิชาการผลิตผัก     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-2-11
รายงานปฏิบัติการของนักศึกษารายวิชาการผลิตผัก ภาคเรียนที่ 2/2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-2-12
มคอ.3 รายวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ 1     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-2-13
มคอ.3 รายวิชาเนื้อเซรามิกส์ 1     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-2-14
มคอ.3 รายวิชาการทดสอบและวิเคราะห์ทางเซรามิกส์ 1     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-2-15
มคอ.3รายวิชาสีสำเร็จรูป 1     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

3

มีการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ และให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณ      การวิจัยแก่อาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้

มหาวิทยาลัยได้จัดทำคู่มือนักวิจัย เพื่อให้คณาจารย์ได้นำความรู้     ด้านจรรยาบรรณการวิจัยไปใช้ในการจัดทำผลงานวิจัย (4.1-3-1) และได้มี  การส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมโครงการพัฒนาสมรรถนะนักวิจัยผ่านกระบวนการที่เหมาะสมกับประสบการณ์ของแต่ละกลุ่มบุคคลโดยมีสถาบันวิจัยและพัฒนาเป็นผู้รับผิดชอบโครงการพัฒนาสมรรถนะของนักวิจัยในกรณีของนักวิจัยรุ่นใหม่จะมีกระบวนการเริ่มจากการฝึกอบรม การทำงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ โดยได้รับการแนะนำหรือการร่วมทีมนักวิจัยพี่เลี้ยงกับนักวิจัยอาวุโส และผู้ทรงคุณวุฒิที่สถาบันวิจัย และพัฒนาได้เรียนเชิญ เพื่อพิจารณาให้ข้อคิด แนวทาง ในการดำเนินงานวิจัยให้แก่นักวิจัยรุ่นใหม่ รวมถึงการสนับสนุนให้คณาจารย์เข้าร่วมประชุมวิชาการรวมทั้งสนับสนุนโครงการวิจัยที่มีนักศึกษามีส่วนร่วม ในกระบวนการวิจัย ดังนี้
    1)  จัดค่ายพัฒนาศักยภาพอาจารย์ด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์สำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่ซึ่งเน้นหัวข้อการวิเคราะห์ชุมชนแบบมีส่วนร่วม    โดยมีทีมวิทยากรจาก สกว.ฝ่ายท้องถิ่น (ลำปาง) ณ อาคารโอฬารโรจน์หิรัญ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง และพื้นที่สวนป่าแม่มาย อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง วันที่ 19-20 มกราคม 2555 (4.1-3-2)
    2)  โครงการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในพื้นที่เพื่อพัฒนาจังหวัดลำปางตามนโยบายหนึ่งมหาวิทยาลัยหนึ่งจังหวัดโดยเป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนให้พื้นที่จังหวัดลำปางที่มีความสนใจเข้าร่วมโครงการในการนำเสนอปัญหาความต้องการและแนวทางแก้ไขปัญหาอย่างมีส่วนร่วมซึ่งถือว่าเป็นเวทีสำหรับอาจารย์ที่สนใจงานวิจัยเชิงพื้นที่ได้มีโอกาสพบกับสถานการณ์จริงและเกิดการฝึกฝนเกิดการแลกเปลี่ยนกับนักวิจัยรุ่นพี่หรือนักวิจัยอาวุโส ที่อยู่ในทีมวิทยากรกระบวนการ โดยมีระยะเวลาดำเนินการตั้งแต่ธันวาคม 2554 ถึงกรกฎาคม 2555 (4.1-3-3)
    3) การเข้าร่วมนำเสนอผลงานวิจัยในงาน การนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2555 ของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ วันที่ 24 – 28 สิงหาคม 2555 ณ ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ฯ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ  (4.1-3-4)

    4) การลงนามความร่วมมือ (MOU) ในการพัฒนางานวิจัยและการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพื้นที่ของจังหวัดลำปางกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยมีความมุ่งหมาย เพื่อพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่ในสายรับใช้สังคม ของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง สร้างความรู้และข้อมูลที่จะเป็นประโยชน์ต่อการขับ เคลื่อนการพัฒนาจังหวัดลำปาง และสร้างนักจัดการการวิจัยเชิงพื้นที่ที่มีทักษะในการพัฒนาโจทย์วิจัย ควบคุมคุณภาพงานวิจัยและการทำงานของนักวิจัยให้สามารถเดินควบคู่ และตอบสนองโจทย์ความต้องการแก้ปัญหาและพัฒนาพื้นที่ได้จากความร่วมมือดังกล่าวทำให้มหาวิทยาลัยได้มีการดำเนินงานตามโครงการ “ความร่วมมือเพื่อพัฒนานักวิจัย และการวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่จังหวัดลำปาง” โดยมี ผศ.จำลอง     คำบุญชู เป็นหัวหน้าโครงการ มีนักวิจัยได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัย จำนวน 2 รุ่น และได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจำนวน 13 โครงการ ซึ่งมีระยะเวลาในการดำเนินการตั้งแต่ ธันวาคม 2554 ถึง พฤศจิกายน 2556 (4.1-3-5)
    5) โครงการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์และให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณการวิจัยแก่อาจารย์ประจำและนักวิจัย กิจกรรม “เข้าใจธรรมชาติตนเองกับงานวิจัยและให้จรรยาบรรณ” ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 (4.1-3-6) และกิจกรรม “การเขียนข้อเสนอโครงการอย่างไรให้ได้รับทุน” ในวันที่ 28-29 พฤษภาคม 2556 (4.1-3-7)

        มหาวิทยาลัยมีการสร้างแรงจูงใจให้นักวิจัยโดยกองทุนพัฒนาบุคลากร มีระเบียบและประกาศการให้เงินรางวัลแก่ผู้สร้างสรรค์ผลงานวิชาการหรือนวัตกรรม โดยคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบุคลากรจะเป็น   ผู้พิจารณา เพื่อให้รางวัลสำหรับนักวิจัยที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นนักวิจัยดีเด่นหรือมีผลงานวิจัยดีเด่นและนักวิจัยที่มีผลงานเผยแพร่ และตีพิมพ์   ในระดับชาติหรือนานาชาติ นอกจากนั้นมหาวิทยาลัยได้จัดทำประกาศนียบัตรเพื่อยกย่องนักวิจัยดังกล่าว (4.1-3-8) (4.1-3-9)
4.1-3-1
คู่มือนักวิจัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-3-2
รายงานสรุปกิจกรรมจัดค่ายพัฒนาศักยภาพอาจารย์ด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์สำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-3-3
รายงานหนึ่งมหาวิทยาลัยหนึ่งจังหวัด     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-3-4
รายงานสรุปการนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-3-5
MOU สัญญา RDG55A0001 ประกาศการให้ทุนโครงการ ABC     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-3-6
รายงานกิจกรรม "เข้าใจธรรมชาติตนเองกับงานวิจัยและให้จรรยาบรรณ"     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-3-7
รายงานกิจกรรม การเขียนข้อเสนอโครงการอย่างไรให้ได้รับทุน"     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-3-8
ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เรื่อง หลักเกณฑ์การให้เงินรางวัลสำหรับผลงานวิชาการผลงานวิจัย หรือผลงานสร้างสรรค์ พ.ศ.2554 ลงวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-3-9
ประกาศเกียรติคุณยกย่องนักวิจัยประจำปี 2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

4

มีการจัดสรรงบประมาณของสถาบัน เพื่อเป็นทุนวิจัยหรืองานสร้างสรรค์มหาวิทยาลัย     มีการดำเนินงาน ดังนี้

มหาวิทยาลัยมีการจัดสรรงบประมาณเพื่ออุดหนุนโครงการ วิจัยหรืองานสร้างสรรค์ตามแผนปฏิบัติงานประจำปีโดยสถาบันวิจัยและพัฒนาเป็นหน่วยงานประสานการดำเนินงาน เพื่อสนับสนุนทุนในการทำงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ให้แก่คณาจารย์นักวิจัยทั้งรุ่นใหม่ นักวิจัยรุ่นกลาง และนักวิจัยอาวุโสมีโอกาสสร้างผลงานที่สามารถนำไปใช้ประกอบ การเสนอโครงการขอทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก โดยมีงบประมาณจำนวนทั้งสิ้น 18,864,543.45 บาท แยกเป็นทุนภายในสถาบัน จำนวน 8,993,090.33 บาท และ ทุนภายนอกสถาบัน จำนวน 9,871,453.12 บาท (4.1-4-1 , 4.1-4-2 , 4.1-4-3)

        นอกจากนี้มีกลไกสนับสนุน เช่น จัดทำเว็บไซต์สถาบันวิจัย  และพัฒนา เพื่อเผยแพร่ข้อมูลประชาสัมพันธ์การให้ทุนแก่โครงการวิจัยของหน่วยงานต่างๆ ทั้งแหล่งทุนภายในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนั้นยังได้เชื่อมโยงเว็บไซต์ของแหล่งทุนอื่นๆ ที่อาจารย์ และนักวิจัยสามารถเข้าดูได้อย่างสะดวกรวดเร็ว (4.1-4-4) และจัดสรรงบประมาณของมหาวิทยาลัยเข้ากองทุนวิจัยและการให้ทุนอุดหนุนการวิจัย (4.1-4-5)
4.1-4-1
แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-4-2
ประกาศทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-4-3
สัญญาการรับทุนวิจัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-4-4
เว็บไซต์สถาบันวิจัยและพัฒนา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-4-5
ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ว่าด้วยกองทุนวิจัยและการให้ทุนอุดหนุนการวิจัย พ.ศ.2549     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

5

มีการสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ตามอัตลักษณ์ของสถาบัน     อย่างน้อยในประเด็นต่อไปนี้
                 - ห้องปฏิบัติการวิจัยฯ หรือหน่วยวิจัยฯ หรือศูนย์เครื่องมือ หรือศูนย์ให้คำปรึกษาและสนับสนุนการวิจัยฯ
                 - ห้องสมุดหรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจัยฯ
                 - สิ่งอำนวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจัยฯ เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการวิจัย
                 - กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมงานวิจัยฯ เช่น การจัดประชุมวิชาการ การจัดแสดงงานสร้างสรรค์  การจัดให้มีศาสตราจารย์อาคันตุกะหรือศาสตราจารย์รับเชิญ (visiting professor) มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้

มหาวิทยาลัยจัดหาทรัพยากรและจัดหาแหล่งสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอตามอัตลักษณ์มหาวิทยาลัยที่มุ่งเน้นการเป็นมหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ทั้งในด้านงบประมาณสนับสนุนการวิจัย (ตามเกณฑ์หัวข้อที่ 4) ห้องปฏิบัติการวิจัย แหล่งค้นคว้าทางวิชาการ และระบบสารสนเทศเพื่อการวิจัย ตลอดจนสนับสนุนให้มีกิจกรรมอื่นๆ ที่ส่งเสริมการวิจัย ดังนี้
        1)  มีสถาบันวิจัยและพัฒนาเป็นหน่วยสนับสนุนหลักในการให้คำปรึกษาและสนับสนุนการทำวิจัย และในหน่วยงานระดับคณะมีห้องปฏิบัติการวิจัยของคณะ เช่น คณะวิทยาศาสตร์มีห้องปฏิบัติการวิจัยและหนังสือรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC17025:2005 โดยกรมวิทยาศาสตร์บริการ  (4.1-5-1)  (4.1-5-2)
        2) ห้องสมุดหรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจัยฯสถาบันวิจัยและพัฒนาได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย เพื่อได้ดำเนินการจัดหาโปรแกรม PSAW ที่มีลิขสิทธิ์ จำนวน 20 User ให้กับหน่วยงานทุกหน่วยงาน เพื่อให้นักวิจัยได้นำไปวิเคราะห์ข้อมูลด้านการวิจัย ได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย โดยจัดสรรให้คณะๆ ละ 2 User ศูนย์คอมพิวเตอร์ จำนวน 4 User สถาบันวิจัยและพัฒนา  จำนวน 2 User สำนักศิลปะและวัฒนธรรมและสำนักงานอธิการบดี หน่วยงานละ 2 User นอกจากนี้ และมีการจัดมุมสนับสนุนการวิจัย ครุภัณฑ์เครื่องคอมพิวเตอร์ เอกสารด้านการวิจัย ให้นักวิจัยได้ศึกษาค้นคว้า นอกจากนั้นยังมีสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมีหนังสือและวารสารเพื่อเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้า  (4.1-5-3)  (4.1-5-4) 
       3) สิ่งอำนวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจัยฯ มหาวิทยาลัยมีฐานข้อมูล Online LPRU เพื่ออำนวยความสะดวกในการทบทวนวรรณกรรมหรือหาโจทย์วิจัย หรือต่อยอดงานวิจัย
มีศูนย์คอมพิวเตอร์ที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ไว้บริการสำหรับการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต (4.1-5-5)
        4) สถาบันวิจัยและพัฒนาได้จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมงานวิจัยฯ  คือ
เช่น การจัดประชุมวิชาการ การจัดแสดงงานสร้างสรรค์ดังนี้

         -  กิจกรรมการเข้าร่วมนำเสนอผลงานวิจัยในงาน การนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2555 ของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ วันที่ 24 – 28 สิงหาคม 2555 ณ ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ฯ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ  (4.1-3-6) และกิจกรรมการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติราชภัฏวิจัย:การขับเคลื่อนงานวิจัยเพื่อสร้างพลังชุมชน ปี 2555 โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางและมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ วันที่ 16-17 สิงหาคม 2555 ณ ห้องประชุมอาคารโอฬาร โรจน์หิรัญ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (4.1-3-7)
4.1-5-1
ประกาศกระทรวงศึกษาโครงสร้างของมหาวิทยาลัย ภาพถ่ายสถาบันวิจัยและพัฒนา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-5-2
ภาพถ่ายห้องปฏิบัติการวิจัย คณะวิทยาศาสตร์และหนังสือรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC17025:2005 โดยกรมวิทยาศาสตร์บริการ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-5-3
เอกสารหลักฐานการแสดงลิขสิทธิ์ โปรแกรม PSAW     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-5-4
เว็บไซต์ของสถาบันวิจัยและพัฒนา www.rsc.lpru.ac.th และเว็บไซต์มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง www.lpru.ac.th     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-5-5
ระบบฐานข้อมูล Online LPRU (http://www.lpru.ac.th/dataonline-4/index. html)     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-5-6
รายงานสรุปการนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-5-7
รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ราชภัฏวิจัย: การขับเคลื่อนงานวิจัยเพื่อสร้างพลังชุมชน ปี 2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

6

มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนในข้อ 4 และข้อ 5 อย่างครบถ้วนทุกประเด็น มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้

มหาวิทยาลัยมีระบบติดตามงานวิจัยดังนี้
        1) ชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงานวิจัยพร้อมทำสัญญาการรับทุนอุดหนุนการวิจัย ก่อนเริ่มดำเนินการวิจัย (4.1-6-1) และจัดทำ คู่มือนักวิจัยเพื่อให้นักวิจัยใช้เป็นแนวทางการในดำเนินงานวิจัย (4.1-6-2)ในระหว่างการดำเนินการวิจัยมีการติดต่อสอบถามเป็นระยะอย่างไม่เป็นทางการทางโทรศัพท์หรือแจ้งข่าวสาร ให้นักวิจัย ทาง email หรือwww.facebook.com ของสถาบันวิจัยและพัฒนา (4.1-6-3) 
        2) ให้รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยภายใน 6 เดือนแรก ในรูปแบบรายงานเป็นเอกสาร (4.1-6-4)
        3) ให้นักวิจัยส่งรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ซีดีข้อมูล บทความงานวิจัยและโปสเตอร์ (4.1-6-5)
        4) จัดกิจกรรมการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติราชภัฏวิจัย:การขับเคลื่อนงานวิจัยเพื่อสร้างพลังชุมชน ปี 2555 โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางและมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ วันที่ 16-17 สิงหาคม 2555 ณ  ห้องประชุมอาคารโอฬาร โรจน์หิรัญ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เพื่อเผยแพร่งผลงานวิจัยของนักวิจัย
        5) มีการติดตามประเมินผลสิ่งสนับสนุนการวิจัย อย่างครบถ้วน    (4.1-6-7) จากอาจารย์ประจำของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางโดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจัยที่มีระดับคะแนนทั้งหมด 5 ระดับและมีผลการประเมินในแต่ละด้านดังต่อไปนี้

        ด้านการจัดสรรงบประมาณ
        ในประเด็นความพึงพอใจต่อระเบียบและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับ    เงินอุดหนุนเพื่อการวิจัย งบประมาณสนับสนุนการวิจัยที่ได้รับ และขั้นตอนการเสนอของบประมาณสนับสนุนการวิจัยมีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.70
        ด้านการให้คำปรึกษาด้านการวิจัย
        ในประเด็นความพึงพอใจต่อการใช้เว็บไซต์สถาบันวิจัยและพัฒนา คำปรึกษาด้านการวิจัยของสถาบันวิจัยที่ตรงกับความต้องการ และ            ผู้ให้บริการคำปรึกษาด้านการวิจัยของสถาบันวิจัยฯ มีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.69 
        ด้านการจัดทำแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจัย
        ในประเด็นความพึงพอใจในจำนวนหนังสือ/วารสาร ระบบฐานข้อมูล วารสารวิชาการ/วิทยานิพนธ์ที่เหมาะสมจำเป็นใน การค้นคว้าข้อมูลการวิจัย และความหลากหลายของประเภทหนังสือ/วารสารทางวิชาการมีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.49
        ด้านการจัดทำสิ่งอำนวยความสะดวก
        ในประเด็นความพึงพอใจต่อการใช้เว็บไซต์สถาบันวิจัยและพัฒนา   กับการให้คำแนะนำช่วยเหลือ ระบบฐานข้อมูลงานวิจัย การรับข่าวสารต่างๆ เกี่ยวกับวิจัย การประชาสัมพันธ์แหล่งทุนต่างๆ เกี่ยวกับการวิจัยและการให้บริการดาวโหลดแบบฟอร์มต่างๆ เกี่ยวกับการวิจัยมีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.67
        ด้านการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
        ในประเด็นความพึงพอใจต่อโครงการฝึกอบรม/สัมมนาต่างๆ ที่สถาบันวิจัยฯจัดขึ้น, จำนวนโครงการฝึกอบรม/สัมมนาต่างๆที่สถาบันวิจัย จัดขึ้นและโครงการฝึกอบรม/สัมมนาต่างๆ ที่สถาบันวิจัยจัดขึ้นไปใช้ประโยชน์ได้จริงมีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.78
        ด้านการให้บริการของเจ้าหน้าที่หรือบุคลากร  ที่ให้บริการ
        ในประเด็นความพึงพอใจต่อการพูดจาด้วยถ้อยคำ และน้ำเสียงที่สุภาพของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ความเอาใจใส่กระตือรือร้น และความพร้อมในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ และความรู้ความสามารถในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการมีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.01

4.1-6-1
ประกาศทุนอุดหนุนการวิจัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-6-2
คู่มือนักวิจัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-6-3
print out email แสดงการติดต่อประสานงาน ติดตามความ ก้าวหน้า ให้คำปรึกษา เป็นระยะๆ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-6-4
บันทึกข้อความ และตัวอย่างรายงานความก้าวหน้า     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-6-5
บันทึกข้อความ และตัวอย่างรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ซีดีข้อมูล บทความงานวิจัยและโปสเตอร์     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-6-6
รายงานกิจกรรมการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ราชภัฏวิจัย:การขับเคลื่อนงานวิจัยเพื่อสร้างพลังชุมชน ปี 2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-6-7
รายงานผลการประเมินผลสิ่งสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

7

มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ของสถาบัน มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้ มหาวิทยาลัยได้นำผลการประเมินไปปรับปรุงงานด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อเป็นการสนับสนุนตามพันธกิจจากผลการประเมิน โดยได้ปรับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการวิจัย ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 มหาวิทยาลัยมีแนวทางสนับสนุนงบประมาณประเด็นยุทธศาสตร์การวิจัยให้คณะโดยตรง แต่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 มหาวิทยาลัยได้จัดสรรงบประมาณผ่านกองทุนวิจัย โดยการกำหนดในแผน และกำหนดผู้สถาบันวิจัยและพัฒนาเป็นรับผิดชอบในการดำเนินงาน (4.1-7-1) ด้านความพึงพอใจด้านการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ สถาบันวิจัยและพัฒนา ได้ปรับโครงการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์  และให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณการวิจัยแก่อาจารย์ประจำและนักวิจัย กิจกรรม “เข้าธรรมชาติตนเองกับงานวิจัยและให้จรรยาบรรณ”และกิจกรรม “การเขียนข้อเสนอโครงการอย่างไรให้ได้รับทุน” เพื่อเป็นกิจกรรมส่งเสริมการวิจัยของมหาวิทยาลัย (4.1-7-2)
4.1-7-1
แผนปฏิบัติงานประจำปี 2555 และ 2556     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-7-2
แผนปฏิบัติงานด้านการวิจัย ปี 2555-2556     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

8

มีระบบและกลไกเพื่อสร้างงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์บนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือ จากสภาพปัญหาของสังคม เพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นและสังคม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด (เฉพาะกลุ่ม ข และ ค 2) มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้ มหาวิทยาลัยได้จัดทำระบบและกลไกการสร้างงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์บนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือจากสภาพปัญหาของสังคมตามที่ระบุในคู่มือนักวิจัย (4.1-8-1) ซึ่งมีการกำหนดขั้นตอนการวิจัย ผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการงานวิจัยนอกเหนือจากที่มหาวิทยาลัยได้จัดทำโครงการความร่วมมือทางวิชาการ “โครงการหนึ่งมหาวิทยาลัยหนึ่งจังหวัด”แล้วยังได้มีการลงนามความร่วมมือ (MOU) ในการพัฒนางานวิจัยและการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพื้นที่ของจังหวัดลำปางกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยมีความมุ่งหมาย 3 ข้อ คือ เพื่อพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่ในสายรับใช้สังคมของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เพื่อสร้างความรู้ และข้อมูลที่จะเป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนการพัฒนาจังหวัดลำปาง และเพื่อสร้างนักจัดการการวิจัยเชิงพื้นที่ที่มีทักษะในการพัฒนาโจทย์วิจัย ควบคุมคุณภาพงานวิจัยและการทำงานของนักวิจัยให้สามารถเดินควบคู่ และตอบสนองโจทย์ความต้องการแก้ปัญหาและพัฒนาพื้นที่ได้จากความร่วมมือดังกล่าวทำให้มหาวิทยาลัยได้มีการดำเนินงานตามโครงการ “ความร่วมมือเพื่อพัฒนานักวิจัยและการวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่จังหวัดลำปาง” โดยมีผศ.จำลอง คำบุญชู เป็นหัวหน้าโครงการ (4.1-8-2) (4.1-8-3) นอกจากนั้นมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ได้มีความร่วมมือกันจัดประชุมวิชาการด้านการวิจัยและบริการวิชาการระดับชาติและภูมิภาคร่วมมือช่วยเหลือกิจกรรม ด้านการวิจัยและบริการวิชาการของกันและกันตามความเหมาะสม และร่วมกันเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของกันและกันตามที่เห็นสมควรกับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ โดยได้ร่วมกันจัดกิจกรรมการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติราชภัฏวิจัย:การขับเคลื่อนงานวิจัยเพื่อสร้างพลังชุมชน ปี 2555 โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางและมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ วันที่ 16-17 สิงหาคม 2555 ณ ห้องประชุมอาคารโอฬาร โรจน์หิรัญ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางเพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยของนักวิจัย (4.1-8-4) และได้ลงนามความร่วมมือทางวิชาการด้านรับใช้สังคมการพัฒนางานวิจัยเชิงพื้นที่และสร้างสรรค์และการเพิ่มพูนศักยภาพบุคลากรของหน่วยงาน ระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง และเทศบาลตำบลปงยางคก มีเป้าหมายเพื่อพัฒนางานวิจัยที่ตอบสนองความต้องการของภาคี โดยอยู่บนฐานโจทย์ของตำบลปงยางคก จังหวัดลำปาง สนับสนุนการพัฒนานักวิจัย การวิจัย และขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากงานวิจัย ผลที่คาดว่าจะได้รับ คือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้มหาวิทยาลัยกับชุมชนการพัฒนาแนวความคิด       และประสบการณ์ การทำงานวิจัยเชิงพื้นที่ให้กับนักวิจัย ทำให้เกิดระบบบริหารจัดการงานวิจัยที่มีคุณภาพ รวมถึงการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรของเทศบาลตำบลปงยางคก (4.1-8-5) มหาวิทยาลัยยังได้สนับสนุนงบประมาณในการวิจัยให้แก่หน่วยงานในระดับคณะ ทั้ง 6 คณะ เพื่อเป็นการผลักดัน และกระตุ้นให้เกิดงานวิจัย ที่มีพื้นฐานจากภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือจากสภาพปัญหาของสังคมเพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น และสังคมภายในจังหวัดลำปาง (4.8-1-6)
4.1-8-1
คู่มือนักวิจัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-8-2
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างสกว.และมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-8-3
สัญญารับทุนอุดหนุนการวิจัยเลขที่ RDG55A0001(โครงการABC)     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-8-4
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางและมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-8-5
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางและเทศบาลตำบลปงยางคก     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.1-8-6
แผนปฏิบัติราชการประจำปี     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2                      :         ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

หน่วยงานที่รับผิดชอบตัวบ่งชี้ระดับมหาวิทยาลัย    :  สถาบันวิจัยและพัฒนา

ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้                                           :   ผศ.วิพัฒน์ หมั่นการ                รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและกิจการพิเศษ

ผู้จัดเก็บข้อมูล / รายงานผลการดำเนินงาน            :  ผศ.ดร.จรีรัตน์ สุวรรณ์              ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา

ชนิดของตัวบ่งชี้         :         กระบวนการ
การคิดรอบปี               :         ปีการศึกษา
เกณฑ์มาตรฐาน         :        
              1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ
              2. มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้เป็นองค์ความรู้ที่คนทั่วไปเข้าใจได้ และดำเนินการตามระบบที่กำหนด
              3. มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้จากข้อ 2      สู่สาธารณะชน และผู้เกี่ยวข้อง
              4. มีการนำผลงาน งานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และมีการรับรองการใช้ประโยชน์จริงจากหน่วยงานภายนอกหรือชุมชน
              5. มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ
1 ข้อ

มีการดำเนินการ
2 ข้อ

มีการดำเนินการ
3 ข้อ

มีการดำเนินการ
4 ข้อ

มีการดำเนินการ
5 ข้อ

ผลการดำเนินงาน

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 : ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

1

มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ใน การประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้

มหาวิทยาลัยมีเป้าประสงค์ที่มุ่งเน้นการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ และการวิจัยเชิงบูรณาการการผลิตงานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันของชุมชนรวมถึงมีเป้าหมายหลักในการสนับสนุนให้มีผลงานวิจัย และผลงานสร้างสรรค์ ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ โดยได้กำหนดการพัฒนางานวิจัยและสร้างสรรค์ไว้ในประเด็นกลยุทธ์ที่ 2 : การพัฒนางานวิจัยและงานสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มศักยภาพ และขีดความสามารถในการแข่งขัน กลยุทธ์ที่ 2 ในการส่งเสริมและสนับสนุนการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ (4.2-1-1)
        มหาวิทยาลัยได้วางแนวทาง ขั้นตอน และหลักเกณฑ์ตลอดจนผู้รับผิดชอบในการสนับสนุนการตีพิมพ์หรือเผยแพร่งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ รวมถึงสนับสนุนการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ ดังนี้
        1. โดยได้กำหนดไว้ประกาศการให้ทุนสนับสนุนงานวิจัยสำหรับอาจารย์ในมหาวิทยาลัย ซึ่งระบุให้ผู้ได้รับทุนต้องเผยแพร่ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ (4.2-1-2)
        2. ได้วางแนวทางรายละเอียดของขั้นตอน และหลักเกณฑ์การตีพิมพ์เผยแพร่และการนำไปใช้ประโยชน์ ไว้ในคู่มือนักวิจัยของมหาวิทยาลัย            (4.2-1-3) โดยแต่ละคณะได้นำคู่มือดังกล่าวมาใช้เป็นแนวทางการดำเนินการงานวิจัย (คู่มือวิจัยของคณะ) (4.2-1-4)
        3. ได้จัดให้มีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก เพื่อกลั่นกรอง ตรวจสอบ โครงการวิจัย บทความ ผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์  ของอาจารย์ และนักวิจัย เพื่อนำไปสู่ผลงานที่มีคุณภาพสามารถตีพิมพ์เผยแพร่   ได้ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ (4.2-1-5) 
        4. มีการจูงใจด้วยการให้รางวัลแก่อาจารย์ นักวิจัย นำผลงานวิจัย    และงานสร้างสรรค์” เผยแพร่ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางเรื่องหลักเกณฑ์การให้เงินรางวัลสำหรับผลงานวิชาการ ผลงานวิจัย หรือผลงานสร้างสรรค์ พ.ศ.2554 (4.2.-1-6) 

        5. มีสถาบันวิจัยและพัฒนาเป็นหน่วยงานสนับสนุนหลักในการนำผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์สู่การเผยแพร่ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ โดยกำหนดแผนการดำเนินงานด้านงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติ และมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการ(4.2.-1-7)
4.2-1-1
แผนกลยุทธ์การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง พ.ศ. 2555-2559     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-1-2
ประกาศสถาบันวิจัยและพัฒนาเรื่องการให้ทุนอุดหนุนการวิจัยสำหรับอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-1-3
คู่มืองานวิจัยของมหาวิทยาลัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-1-4
คู่มือวิจัยของแต่ละคณะ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-1-5
คำสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางที่ 1925/2555 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบข้อเสนอโครงการวิจัย ความก้าวหน้างานวิจัย บทความ ผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-1-6
ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เรื่อง หลักเกณฑ์การให้เงินรางวัลสำหรับผลงานวิชาการ ผลงานวิจัย หรือผลงานสร้างสรรค์ พ.ศ.2554 ลงวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2554     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-1-7
แผนดำเนินงานของสถาบันวิจัยและพัฒนา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 : ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

2

มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้เป็นองค์ความรู้ที่คนทั่วไปเข้าใจได้ และดำเนินการตามระบบที่กำหนด มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้

มหาวิทยาลัยมีระบบและกลไกการรวบรวมคัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ดังนี้
         1. กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์งานวิจัย และงานสร้างสรรค์ไว้ใน  แผนกลยุทธ์การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง พ.ศ. 2555-2559 (4.2-2-1) 
         2. มหาวิทยาลัยมีสถาบันวิจัยและพัฒนาเป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ สถาบันวิจัย และพัฒนาได้ถอดประเด็นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งวิเคราะห์ สังเคราะห์ผลการประเมินการประกันคุณภาพภายในประจำปี 2554 ผลของการประเมินตามตัวชี้วัดของ กพร. สกอ. และ สมศ. นำมาเป็นข้อมูลประกอบในการจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2555 เพื่อให้แผนการดำเนินงานด้านการวิจัยให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดด้านการวิจัยที่เกี่ยวข้อง (4.2-2-2) พร้อมทั้งจัดทำคู่มือที่แสดงถึงขั้นตอนการรวบรวมคัดสรร วิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ให้กับนักวิจัย และเพื่อให้คณะต่างๆ ของมหาวิทยาลัยนำไปใช้เป็นแนวทาง ขั้นตอน และหลักเกณฑ์ด้านการวิจัย (4.2-2-3) 
        ดังนั้นเพื่อการขับเคลื่อนระบบ และกลไกดังกล่าวมหาวิทยาลัยได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ และจัดทำประกาศดังนี้
        1. มีคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิชาการประจำสถาบันวิจัยและพัฒนา (เอกสาร 4.2-2-4) 
        2. มีคณะกรรมการคัดเลือก กลั่นกรองผลงานวิชาการ/งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์เพื่อนำเสนอในงานวิจัยระดับชาติ (4.2-2-5) 
        3. มีคณะกรรมการประจำสถาบันวิจัยและพัฒนาซึ่งประกอบด้วยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัย และตัวแทนคณาจารย์ (4.2-2-6) 
        4. มีคณะกรรมการส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการ (4.2-2-7) ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจากทุกคณะ และสำนัก สถาบันของมหาวิทยาลัยโดยมีรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและกิจการพิเศษเป็นประธานคณะกรรมการ
         5. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบข้อเสนอโครงการวิจัย ความก้าวหน้างานวิจัย บทความผลงาน วิจัย และงานสร้างสรรค์ให้เป็นที่ยอมรับและได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่ รวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ และกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน (4.2-2-8)   

         6. มีการแต่งตั้งคณะดำเนินงานกิจกรรมเที่ยงวันสรรมาคุย (4.2-2-9) โดยมีการดำเนินกิจกรรมที่สนับสนุนการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และการวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ของอาจารย์ นักวิจัย ได้องค์ความรู้ที่เกิดจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ประสบการณ์งานวิจัยจากกิจกรรรมเที่ยงวันสรรมาคุยดังกล่าว โดยมีเอกสารที่เกิดจากการสังเคราะห์ (4.2-2-10) และเกิดเป็นองค์ความรู้ที่ได้จากการ   คัดสรร วิเคราะห์ และสังเคราะห์องค์ความรู้ของคณาจารย์ในคณะต่างๆ (4.2-2-11)
4.2-2-1
แผนกลยุทธ์การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง พ.ศ.2555-2559 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-2-2
แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555 ของสถาบันวิจัยและพัฒนา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-2-3
คู่มืองานวิจัยของมหาวิทยาลัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-2-4
คำสั่งมหาวิทยาลัย ราชภัฏลำปางที่ 3148/2552 และ ที่ 2262/2556 เรื่อง การแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านการวิจัยและบริการวิชาการ ประจำสถาบันวิจัยและพัฒนา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-2-5
คำสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ที่ 3376/2555 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการจัดนิทรรศการในงาน "การนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2555"     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-2-6
คำสั่งมหาวิทยาลัย ราชภัฏลำปาง ที่ 05/2555 และ ที่12/2556 เรื่องการแต่งตั้งคณะกรรมการประจำสถาบันวิจัยและพัฒนา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-2-7
คำสั่งมหาวิทยาลัย ที่ 3827/ 2554 และ ที่ 1596/2556 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมงานวิจัยและงานสร้างสรรค์     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-2-8
คำสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ที่ 1925/2555 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบข้อเสนอโครงการวิจัย ความก้าวหน้างานวิจัย บทความ ผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-2-9
โครงการส่งเสริมระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยและงานสร้างสรรค์ วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยหรือ งานสร้างสรรค์ผ่านเวทีเที่ยงวันสรรมาคุย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-2-10
รายงานสรุปผลการจัดเวทีการเสวนาในกิจกรรมเที่ยงวันสรรมาคุย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-2-11
เอกสารที่ได้จากการคัดสรรองค์ความรู้     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 : ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

3

มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้จากข้อ 2  สู่สาธารณชน และผู้เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้

มหาวิทยาลัยกำหนดการพัฒนางานวิจัยและสร้างสรรค์ไว้ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 กลยุทธ์ที่ 2 ที่มุ่งพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ โดยมีเป้าหมายเพื่อนำผลงานดังกล่าวพัฒนาสู่การตีพิมพ์เผยแพร่ และนำไปใช้ประโยชน์ในระดับชาติ  (4.2-3-1)  

          จากการพัฒนาระบบการบริหารจัดการความรู้จากงานวิจัยหรือ  งานสร้างสรรค์ และกลไกการรวบรวมคัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยได้มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์สู่สาธารณชนและผู้เกี่ยวข้องผ่านทางเว็บไซต์ของสถาบันวิจัยและพัฒนาและเผยแพร่ในงานการนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2555 (4.2-3-2) ได้สร้างเครือข่ายกับองค์กรภายนอกเพื่อสนับสนุนงานวิจัย รวมถึงนำผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปเผยแพร่และใช้ประโยชน์ (4.2-3-3) อาจารย์ นักวิจัย ได้ลงพื้นที่ เพื่อนำองค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ไปถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นกิจกรรมการบริการเผยแพร่แก่ชุมชน (4.2-3-4) และจัดทำวารสารสืบเนื่องจากการประชุม National and international Conference on Rajabhat Research: Research driven Community Engagement for Community Empowerment16-17 August 2012 The Office of the President, Lampang Rajabhat University เพื่อเผยแพร่แก่สาธารณชน  (4.2-3-5)
4.2-3-1
แผนกลยุทธ์การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง พ.ศ.2555 – 2559 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-3-2
ตัวอย่างการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้ ที่ได้จากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ทางWebsite ของสถาบันวิจัยและพัฒนา และเผยแพร่ในงานการนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2555     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-3-3
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสถาบันวิจัย และพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง กับเทศบาลตำบลปงยางคก ว่าด้วยความร่วมมือทางวิชาการด้านรับใช้สังคมการพัฒนางานวิจัยเชิงพื้นที่ และสร้างสรรค์และการเพิ่มพูนศักยภาพบุคลากรของหน่วยงาน     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-3-4
คำสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ที่ 1026/2554 เรื่อง แต่งตั้งกรรมการประชุมเสวนาเครือข่ายด้านการวิจัยและบริการวิชาการและคำสั่งที่22142/2555, ที่2962/2555และ ที่3064/2555 เรื่องการอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับชุมชน     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-3-5
วารสาร National and international Conference on Rajabhat Research: Research driven Community Engagement for Community Empowerment16-17 August 2012 The Office of the President, Lampang Rajabhat University     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 : ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

4

มีการนำผลงาน งานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และมีการรับรอง       การ ใช้ประโยชน์จริงจากหน่วยงานภายนอกหรือชุมชน มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้ มหาวิทยาลัยได้กำหนดขั้นตอนวิธีการสนับสนุนการนำผลงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ไปใช้ประโยชน์ (4.2-4-1) มีการจัดสรรทุนเพื่อสนับสนุน (4.2-4-2) มีกิจกรรมเป็นสื่อกลางสานสัมพันธ์ในการถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีระหว่างอาจารย์ และนักวิจัยกับตัวแทนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และผู้นำชุมชนโดยผ่านกิจกรรมเที่ยงวันสรรมาคุย (4.2-4-3) แต่ละคณะมีการนำผลงานวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานภายนอกและ   มีการรับรองการใช้ประโยชน์ คือ คณะครุศาสตร์ จำนวน 8 เรื่อง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 23 เรื่อง คณะวิทยาการจัดการ จำนวน 17 เรื่อง คณะวิทยาศาสตร์ จำนวน 5 เรื่อง คณะเทคโนโลยีการเกษตร จำนวน 1 เรื่อง และ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 14 เรื่อง (4.2-4-4)
4.2-4-1
คู่มืองานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของมหาวิทยาลัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-4-2
ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เรื่องการให้ทุนอุดหนุนการวิจัยสำหรับอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-4-3
สรุปโครงการดำเนิน การบริหารจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ผ่านกิจกรรมเที่ยงวันสรรมาคุย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-4-4
หนังสือรับรองการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของแต่ละคณะ     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 : ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ

5

มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ และดำเนินการตามระบบที่กำหนด มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงาน ดังนี้

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางได้จัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยด้านการวิจัยและสร้างสรรค์ และระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ว่าด้วยกองทุนวิจัยและการให้ทุนอุดหนุนการวิจัย พ.ศ.2549 ในข้อ 6 (5) (4.2-5-1)
       โดยมอบหมายให้สถาบันวิจัยและพัฒนาเป็นผู้กำหนดระบบและกลไกในการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาของงานวิจัย หรือสิ่งประดิษฐ์หรือนวัตกรรมให้แก่นักวิจัยเจ้าของผลงาน โดยได้กำหนดขั้นตอนการดำเนินการยื่นขอคุ้มครองสิทธิ์ทางทรัพย์สินทางปัญญาในคู่มือวิจัย (4.2-5-2) และมีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานประสานงาน ด้านทรัพย์สินทางปัญญาที่รับผิดชอบในการรวบรวมผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของอาจารย์ และนักวิจัยของแต่ละคณะ (4.2-5-3) สนับสนุนให้บุคลากรของมหาวิทยาลัยเข้าประชุม และอบรบเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว โดยได้เชิญผู้เชี่ยวชาญด้านทรัพย์สินทางปัญญามาให้ความรู้ และชี้แนะแนวทางการยืนขอคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาแก่อาจารย์ นักวิจัย ในกิจกรรมเที่ยงวันสรรมาคุย (4.2-5-4) รวมทั้งแจกเอกสารประกอบเพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา (4.2-5-5) มีการแจ้งข้อมูลข่าวสารด้านทรัพย์สินทางปัญญาพร้อมอำนวยความสะดวกในเรื่องของแบบฟอร์มการยื่น จดทรัพย์สินทางปัญญาผ่านทาง web สถาบันวิจัยและพัฒนา (4.2-5-6) มีการอำนวยความสะดวกในการดำเนินการยื่นขอจดทรัพย์สินทางปัญญา โดยสถาบันวิจัยและพัฒนา (4.2-5-7)  และมีนักวิจัยที่ได้รับหนังสือรับรองการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ (4.2-5-8)

4.2-5-1
ประกาศระเบียบว่าด้วยกองทุนวิจัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-5-2
คู่มือวิจัย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-5-3
คำสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางที่ 452/2554 เรื่องแต่งตั้งคณะทำงานประสานงานด้านทรัพย์สินทางปัญญา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-5-4
หนังสือที่ ศธ. 0534.8/026 ลว.23ก.พ.2555 และ ศธ.0534.8/056 ลว 27 มิ.ย.2556 เชิญตัวแทนจากสำนักงานพาณิชย์จังหวัดลำปาง     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-5-5
รายงานสรุปกิจกรรมเที่ยงวันสรรมาคุย     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-5-6
ตัวอย่างเอกสารเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาที่นำมาแจกให้อาจารย์ นักวิจัยที่เข้าร่วมอบรม     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-5-7
ประกาศสถาบันวิจัยและพัฒนาเรื่อง การดำเนินงานด้านทรัพย์สินทางปัญญา และตัวอย่างของแบบฟอร์มการยื่นขอทรัพย์สินทางปัญญาจาก Web สถาบันวิจัยและพัฒนา     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.2-5-8
ตัวอย่างหนังสือรับรองการแจ้งข้อมูล     $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ PDF ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น

ตัวบ่งชี้ที่ 4.3                      :         เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ

หน่วยงานที่รับผิดชอบตัวบ่งชี้ระดับมหาวิทยาลัย    :  สถาบันวิจัยและพัฒนา

ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้                                           :   ผศ.วิพัฒน์ หมั่นการ                รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและกิจการพิเศษ

ผู้จัดเก็บข้อมูล / รายงานผลการดำเนินงาน            :  ผศ.ดร.จรีรัตน์ สุวรรณ์              ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา

ชนิดของตัวบ่งชี้         :        ปัจจัยนำเข้า
การคิดรอบปี               :        ปีงบประมาณ
เกณฑ์มาตรฐาน         :         โดยการแปลงจำนวนเงินต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำเป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5
เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค2 จำแนกเป็น 3 กลุ่มสาขาวิชา
              1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                   จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5      =               60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
                   2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
                   จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5      =               50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
                   3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
                   จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5      =               25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

สูตรการคำนวณ
              1. คำนวณจำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ

              จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ = 1
  

              2. แปลงจำนวนเงินที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

          คะแนนที่ได้ = 2

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ
1 ข้อ

มีการดำเนินการ
2 ข้อ

มีการดำเนินการ
3 ข้อ

มีการดำเนินการ
4 ข้อ

มีการดำเนินการ
5 ข้อ

ผลการดำเนินงาน

ข้อมูลพื้นฐาน

จำนวน

 จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในสถาบัน  
 จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบัน  
 จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง (ไม่นับรวมผู้ลาศึกษาต่อ)  
 จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง (ไม่นับรวมผู้ลาศึกษาต่อ)  
 จำนวนอาจารย์ประจำที่ลาศึกษาต่อ  
 จำนวนนักวิจัยประจำที่ลาศึกษาต่อ  

 

ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ
    1. จัดเก็บรวบรวมข้อมูลในปีงบประมาณ
2. ตรวจสอบข้อมูลและรวบรวมข้อมูลเงินสนับสนุนการวิจัยและงานสร้างสรรค์เพิ่มเติมตามแบบฟอร์มที่ กำหนด
3. หน่วยงานรายงานข้อมูลมาที่สวพ.
4. สวพ.สรุปข้อมูลจากคณะ/หน่วยงาน และจัดทำรายงาน
4.3-1-1
เอกสารสรุปจำนวนเงินสนับสนุนจากแหล่งทุนภายใน   วิทยาศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-2
เอกสารสรุปจำนวนเงินสนับสนุนจากแหล่งทุนภายนอก   วิทยาศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-3
ประกาศและสัญญารับทุนทุกประเภท   วิทยาศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-4
เอกสารสรุปจำนวนเงินสนับสนุนจากแหล่งทุนภายใน   มนุษยศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-5
เอกสารสรุปจำนวนเงินสนับสนุนจากแหล่งทุนภายนอก   มนุษยศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-6
ประกาศและสัญญารับทุนทุกประเภท   มนุษยศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-7
เอกสารสรุปจำนวนเงินสนับสนุนจากแหล่งทุนภายใน   เกษตร $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-8
เอกสารสรุปจำนวนเงินสนับสนุนจากแหล่งทุนภายนอก   เกษตร $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-9 ประกาศและสัญญารับทุนทุกประเภท   เกษตร $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-10 เอกสารสรุปจำนวนเงินสนับสนุนจากแหล่งทุนภายใน   เทคโน $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-11 เอกสารสรุปจำนวนเงินสนับสนุนจากแหล่งทุนภายนอก   เทคโน $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-12 ประกาศและสัญญารับทุนทุกประเภท   เทคโนฯ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-13 เอกสารสรุปจำนวนเงินสนับสนุนจากแหล่งทุนภายใน   ครุศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-14 เอกสารสรุปจำนวนเงินสนับสนุนจากแหล่งทุนภายนอก   ครุศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-15 ประกาศและสัญญารับทุนทุกประเภท   ครุศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-16 เอกสารสรุปจำนวนเงินสนับสนุนจากแหล่งทุนภายใน   วิทยาการจัดการ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-17 เอกสารสรุปจำนวนเงินสนับสนุนจากแหล่งทุนภายนอก   วิทยาการจัดการ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-18 ประกาศและสัญญารับทุนทุกประเภท   วิทยาการจัดการ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.3-1-19 เอกสารสรุปจำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง /   $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
**หมายเหตุ : กรุณาตั้งชื่อไฟล์ตามรหัสเอกสาร และเป็นไฟล์ Microsoft Word ขนาดน้อยกว่า 10 mb. เท่านั้น

ตัวบ่งชี้ที่ 4.4                      :         งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (สมศ.5)

หน่วยงานที่รับผิดชอบตัวบ่งชี้ระดับมหาวิทยาลัย    :  สถาบันวิจัยและพัฒนา

ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้                                           :   ผศ.วิพัฒน์ หมั่นการ                รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและกิจการพิเศษ

ผู้จัดเก็บข้อมูล / รายงานผลการดำเนินงาน            :  ผศ.ดร.จรีรัตน์ สุวรรณ์              ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา

ชนิดของตัวบ่งชี้         :        ผลผลิต
การคิดรอบปี               :        การเผยแพร่ / ปีปฏิทิน , จำนวนอาจารย์ / ปีการศึกษา
เกณฑ์การประเมิน

          กำหนดระดับคุณภาพงานวิจัยที่ตีพิมพ์ ดังนี้

ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย
0.25 มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ/ระดับนานาชาติ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฎในฐานข้อมูล TCI
0.50 มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของ สมศ.
0.75 มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของ สมศ.
1.00 มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank : www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ใน              ควอไทล์ที่ 1 - 4 (Q1 - Q4) ในปีล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรือมี             การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI หรือ Scopus

          กำหนดระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ ดังนี้

ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย
0.125 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบันหรือจังหวัด 
0.25 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ 
0.5 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ
0.75 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน 
1 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับนานาชาติ

* องค์ประกอบของคณะกรรมการไม่น้อยกว่า 3 คน และต้องมีบุคคลภายนอกสถานศึกษาร่วมพิจารณาด้วย

  วิธีการคำนวณ 3

เกณฑ์การให้คะแนน

ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละเท่ากับ 5 คะแนน จำแนกตามกลุ่มสาขาวิชา ดังนี้

กลุ่มสาขาวิชา ร้อยละ
วิทยาศาสตร์สุขภาพ   20
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี   20
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 10

 

ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ
   

1.จัดเตรียมข้อมูลและบันทึกในระบบฐานข้อมูลงานวิจัย ตลอดปีงบประมาณ

2.ตรวจสอบข้อมูลในระบบฐานข้อมูลวิจัย

- กรณีข้อมูลถูกต้อง ให้ยืนยันข้อมูล

- กรณีข้อมูลไม่ถูกต้อง และต้องการลบแก้ไข ให้จัดทำบันทึกแจ้งมาที่สวพ.

- กรณีต้องการเพิ่มเติมข้อมูล ให้บันทึกข้อมูลในระบบฐานข้อมูล

3.หน่วยงานรายงานข้อมูลมาที่สวพ. พร้อมส่งเอกสารหลักฐาน

4. สวพ.ตรวจสอบข้อมูลในระบบ และสรุปข้อมูลจากคณะ/หน่วยงาน จัดทำรายงาน

4.4-1

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ในปีปฏิทิน พ.ศ. 2555

  วิทยาศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-2

เอกสารวารสารอื่นๆ

  วิทยาศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-3

 

  วิทยาศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-4

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ในปีปฏิทิน พ.ศ. 2555

  มนุษยศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-5

เอกสารวารสารอื่นๆ

  มนุษยศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-6

 

  มนุษยศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-7

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ในปีปฏิทิน พ.ศ. 2555

  เกษตร $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-8

เอกสารวารสารอื่นๆ

  เกษตร $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-9

 

  เกษตร $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-10

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ในปีปฏิทิน พ.ศ. 2555

  เทคโน $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-11

เอกสารวารสารอื่นๆ

  เทคโน $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-12

 

  เทคโนฯ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-13

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ในปีปฏิทิน พ.ศ. 2555

  ครุศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-14

เอกสารวารสารอื่นๆ

  ครุศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-15

 

  ครุศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-16

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ในปีปฏิทิน พ.ศ. 2555

  วิทยาการจัดการ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-17 เอกสารวารสารอื่นๆ   วิทยาการจัดการ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-18     วิทยาการจัดการ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.4-19 เอกสารสรุปจำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง /   $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>

ตัวบ่งชี้ที่ 4.5                      :         งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ (สมศ.6)

หน่วยงานที่รับผิดชอบตัวบ่งชี้ระดับมหาวิทยาลัย    :  สถาบันวิจัยและพัฒนา

ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้                                           :   ผศ.วิพัฒน์ หมั่นการ                รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและกิจการพิเศษ

ผู้จัดเก็บข้อมูล / รายงานผลการดำเนินงาน            :  ผศ.ดร.จรีรัตน์ สุวรรณ์              ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา

ชนิดของตัวบ่งชี้         :        ผลผลิต
การคิดรอบปี               :        ปีปฏิทิน
เกณฑ์การประเมิน  

                

เกณฑ์การให้คะแนน

ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน ทุกกลุ่มสาขาวิชา

                                  

ผลการดำเนินงาน

ข้อมูลพื้นฐาน
จำนวน
จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง (ไม่นับรวมผู้ลาศึกษาต่อ)   
จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง (ไม่นับรวมผู้ลาศึกษาต่อ)   
จำนวนอาจารย์ประจำที่ลาศึกษาต่อ   
จำนวนนักวิจัยประจำที่ลาศึกษาต่อ   
จำนวนรวมของผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์   
จำนวนรวมของผลงานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์   
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดำเนินงาน
รหัสเอกสาร
( Download )
เอกสารหลักฐาน
มหาวิทยาลัย และ สวพ. ดำเนินการ
คณะ
ดำเนินการ
 
ไฟล์แนบ
   

ในปีการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยมีอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ จำนวน 332 คน งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ ในปีปฏิทิน พ.ศ.2555  จำนวน 68 เรื่อง รายละเอียด ดังนี้

4.5-1
ผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์   วิทยาศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-2
เอกสารอื่นๆ   วิทยาศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-3
    วิทยาศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-4
ผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์   มนุษยศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-5
เอกสารอื่นๆ   มนุษยศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-6
    มนุษยศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-7
ผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์   เกษตร $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-8
เอกสารอื่นๆ   เกษตร $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-9     เกษตร $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-10 ผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์   เทคโน $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-11 เอกสารอื่นๆ   เทคโน $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-12

 

  เทคโนฯ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-13 ผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์   ครุศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-14 เอกสารอื่นๆ   ครุศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-15     ครุศาสตร์ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-16 ผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์   วิทยาการจัดการ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-17 เอกสารอื่นๆ   วิทยาการจัดการ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-18     วิทยาการจัดการ $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>
4.5-19 เอกสารสรุปจำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง /   $date2) { echo "Time out to upload"; } else { echo '

'; } ?>